ไทยแข่งโลกธุรกิจ 7 เทรนด์+การเมือง ชี้อนาคตเศรษฐกิจไทย
โดย บิสิเนสไทย [22-8-2008]
เปิดอนาคต 7 เทรนด์โลก “วิกฤติพลังงาน-ค่าเงินผันผวน- โลกร้อน-สังคมสูงอายุ-สังคมเมืองขยายตัว-เทคโนโลยีข้ามสายพันธุ์-การรวมกลุ่มประเทศ” ซึ่งมีอิทธิพล "พลิกชะตา" ประเทศไทยสู่การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ประเทศไทยจะปรับตัวอย่างไรต่อสิ่งที่เกิดขึ้น เพื่อไม่ให้ถูกกดดันจนตกขบวนแข่งขัน
สศช.ได้วาดอนาคตประเทศไทยอีก 20 ปีข้างหน้า โดยระดมผู้รู้ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อรับมือกับสิ่งที่เกิดขึ้น Business Thai ทำหน้าที่เตือนภัย โดยส่งสัญญาณถึงการเปลี่ยนแปลงที่กำลังคืบคลานเข้ามาเรื่อยๆ..!!!
ภายใต้กรอบการแข่งขันระดับประเทศ ซึ่งถูกเดิมพันด้วย "ชื่อเสียง" และ "จีดีพี" ทำให้ "วิสัยทัศน์" ของ "ผู้นำประเทศ" และ "แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ" ซึ่งปัจจุบันมีสำนักงานคณะกรรมการฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)หรือ สภาพัฒน์ เป็นแม่งานใหญ่ ต่างถูกจับตามองจากบุคคลรอบข้าง
เพราะนี่คือ "วิสัยทัศน์ประเทศไทย" และแนวทางพัฒนาให้ประเทศไทยก้าวขึ้นสู่เวทีการค้า การลงทุนระดับโลกได้อย่างภาคภูมิ
พลวัฒน์เศรษฐกิจโลกเปลี่ยนเกษตรสู่”อุตสาหกรรม-บริการ” ในอดีตที่ผ่านมาประเทศไทยกำหนดทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมโดยคำนึงถึงการแข่งขันและมุ่งการตอบสนองความต้องการของตลาดโลกเป็นหลัก ขณะที่ โครงสร้างทางเศรษฐกิจ ได้ปรับเปลี่ยนจาก “เกษตรกรรม”ไปสู่”อุตสาหกรรมและบริการ”ที่เน้นการผลิตเพื่อส่งออก และสนับสนุนการลงทุนจากต่างประเทศ ถึงแม้ว่ากลไกดังกล่าวจะทำให้ประเทศไทยก้าวสู่การเป็นประเทศที่มีระดับรายได้ปานกลาง ประชาชนมีรายได้ต่อหัวเพิ่มขึ้นจาก 819 ดอลล่าร์สหรัฐ/คน/ปี ในปี 2539 เป็นประมาณ 4,432 ดอลล่าร์สหรัฐ/คน/ปี หรือประมาณ 142,705 บาท/คน/ปี ในปี 2551
แต่สิ่งเหล่านี้ก็ต้องแลกเปลี่ยนด้วยการใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง เกิดปัญหาช่องว่างการกระจายรายได้และความไม่เท่าเทียบกันระหว่างชุมชนเมืองกับชุมชนชนบท นำไปสู่การเกิดปัญหาวิกฤติสังคม ที่คนส่วนใหญ่มีค่านิยมยึดติดกับอำนาจจากความร่ำรวย วัตถุนิยม ทำให้รากฐานทางสังคมอ่อนแอ ที่สำคัญการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศต้องพึงพิงต่างประเทศแทบทุกด้าน นี่คือความจริงที่เกิดขึ้นกับประเทศไทย ประเทศที่ประกาศตัวเองเป็น “HUB” หรือ "ศูนย์กลาง" อยู่หลายเรื่อง อาทิ ฮับรถยนต์ ฮับสุขภาพ ฮับท่องเที่ยว ฮับการค้า การลงทุนฯลฯของเอเชีย !!! ดร.อำพน ในฐานะเลขาธิการสภาพัฒน์ กล่าวไว้อย่างน่าสนใจว่า จากนี้ไปสภาพัฒน์ในฐานะหน่วยงานวางแผนพัฒนาประเทศจะอยู่เฉยไม่ได้ จำเป็นที่จะลุกขึ้นมามองและทบทวนกระบวนการวางแผนพัฒนาประเทศในอนาคตใหม่ ภายใต้กรอบแนวคิดของการพัฒนาบนหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นเสาหลักของความเป็นปึกแผ่นของคนในชาติ ทั้งนี้ สภาพัฒน์ ได้วางโรแมฟเพื่อสร้างแต้มต่อให้กับประเทศไทยภายใต้กรอบการแข่งขันที่ "รวดเร็ว" และ "รุนแรง" โดยกำหนดกรอบเป้าหมายพัฒนาประเทศ อาทิ การจัดระบบโครงสร้างเศรษฐกิจที่จะพึ่งพาตนเองมากขึ้น มีความมั่นคงทางด้านอาหาร , พลังงาน และเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของภูมิภาค เพื่อเป็นฐานการผลิตสินค้าเกษตร , อุตสาหกรรม , บริการ , การค้าและการลงทุน รวมทั้งให้ประเทศไทยเป็นหุ้นส่วนพัฒนากับประเทศเพื่อนบ้านและอนุภูมิภาคเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและวัฒนธรรมรวมกัน โดยมีเป้าหมายให้ไทยอยู่ในกลุ่มประเทศผู้นำของโลกในด้านบริหารจัดการที่ดี นอกจากนี้ยังเน้นให้สังคมมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมรวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน การจัดหาพลังงานให้เกิดความมั่นคง การพัฒนาโครงข่ายโลจิสติกส์เพื่อลดต้นทุนการผลิต การส่งเสริมและพัฒนาระบบควบคุมคอร์รัปชันให้มีระบบตรวจสอบที่เข้มแข็ง
จับตา 7 เทรนด์โลกผลกระทบกับประเทศไทย อย่างไรก็ตาม การกำหนดวิสัยทัศน์ประเทศไทย สู่ปี 2570 หรือ 20 ปีข้างหน้า นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รองเลขาธิการ สภาพัฒน์ บอกว่า ถือเป็นสิ่งจำเป็นและท้าทาย เพราะเป็นการพิจารณาถึงปัจจัยและแนวโน้มหลักที่ประเทศไทยต้องเผชิญ ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ ซึ่งล้วนแล้วมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในมิติต่างๆ โดยพบว่าจากนี้ไปอีก 20 ปีข้างหน้า "โลก" และ "ประเทศไทย" จะต้องเผชิญกับ 7 เหตุการณ์ที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ อันได้แก่ 1. ภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การเพิ่มขึ้นของก๊าซเรือนกระจกจะส่งผลกระทบสร้างความเสียหายต่อต่อสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของคน ซึ่งในช่วง 100 ปีที่ผ่านมา อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้น 0.3-0.6 องศาเซลเซียส เป็นผลให้น้ำทะเลเพิ่มขึ้น 10-25 เซนติเมตร และคาดการณ์ว่าในปี 2643 อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกจะเพิ่มขึ้น 1.5-5.1 องศาเซลเซียส ซึ่งจะทำให้น้ำทะเลเพิ่มขึ้น 90 เซนติเมตร ส่งผลให้สภาพภูมิอากาศแปรปรวนมากกว่าปกติและภัยพิบัติจะทางธรรมชาติจะเกิดมากขึ้น จนสร้างความเสียหายต่อเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิตของประชาชนทั่วโลก โดยมีการคาดการณ์ว่าต้นทุนที่ประเทศต่างๆ จะต้องจ่ายในการป้องกันและรับมือกับผลกระทบจากภาวะโลกร้อน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 0.05-0.5 ของ GDP โลก 2. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรโลก โดย "นายอาคม" บอกว่า โลกจะมีสัดส่วนผู้สูงอายุมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้แรงงานซึ่งเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญในภาคเศรษฐกิจของประเทศมีผลิตภาพลดลง รวมทั้งเศรษฐกิจของประเทศ/โลกจะต้องเผชิญกับภาวการณ์ออมและการลงทุนในเครื่องจักรอุปกรณ์ที่ชะลอตัวลง นั่นเพราะเมื่อประชากรมีอายุมากขึ้นจะบริโภคมากขึ้นทำให้อัตราการออมลดลง หรืออัตราการออมของผู้มีงานทำจะเพิ่มขึ้นในช่วงวัยทำงานแต่ละลดลงในช่วงที่เกษียณอายุแล้ว จะส่งผลทำให้เศรษฐกิจของโลกและประเทศไทยในอนาคตที่กำลังก้าวสู่สังคมสูงอายุจะต้องเผชิญกับภาวะการออมและการลงทุนในเครื่องจักรอุปกรณ์ชะลอลงตามไปด้วย ทั้งนี้ สภาพัฒน์ ได้คาดการณ์ว่าในอีก 20 ปีข้างหน้า ประชากรไทยที่มีอายุ 6 ปีขึ้นไป จะเพิ่มสัดส่วนขึ้นเป็น 1 ใน 4 ของประชากรรวม จากจำนวน 7.14 ล้านคน หรือร้อยละ10.8 ของประชากรรวมในปี 2550 เป็น 16.05 ล้านคน หรือร้อยละ 22.7 ในปี 2570 ขณะที่ประชากรวัยเด็กและวัยแรงงานสัดส่วนจะลดลงตามลำดับ ซึ่งการเพิ่มขึ้นของกลุ่มประชากรสูงวัย คาดว่าจะส่งผลกระทบที่สำคัญต่อทางการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ "เมื่อประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ก็จะทำให้จำนวนประชากรในวัยทำงานหรือจำนวนแรงงานของประเทศลดลง ซึ่งนอกจากจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อจำนวนแรงงานแล้ว ยังส่งผลให้มีการอพยพเครื่องย้ายแรงงานต่างชาติเข้ามาเพื่อทดแทนกำลังแรงงานในประเทศเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจเกิดปัญหาทางสังคม "เขาย้ำ
ก่อนหน้านี้ ปัญหาสังคมผู้สูงอายุจะเป็นนโยบายใหญ่ระยะยาวของชาติ เพราะมีผลกระทบอย่างมากสำหรับประเทศที่เข้าสู่ aging society แล้ว เช่น ญี่ปุ่นที่ประสบปัญหาผลิตภาพต่ำ กำลังแรงงานลดลงอย่างต่อเนื่อง ย่อมส่งผลต่อเศรษฐกิจในอนาคต แม้จะพยายามแก้ปัญหา โดยพัฒนาเทคโนโลยีมาใช้แทนแรงงาน เช่นเดียวกับประเทศอเมริกาซึ่งมีคนแก่เพิ่มมากขึ้น ขณะที่กำลังแรงงานเริ่มลดลง ทั้งนี้ อเมริกาแก้ปัญหาโดยเปิดรับแรงงานต่างชาติมากขึ้น
วิกฤติพลังงาน-อาหาร 3.พลังงานและความมั่นคงด้านอาหาร โดยในอีก 20 ปีข้างหน้า ความต้องการใช้พลังงานของโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ซึ่งเป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรและการขยายตัวทางเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศกำลังพัฒนา ที่มีการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่โครงสร้างเศรษฐกิจอุตสาหกรรมและบริการมากขึ้นจะมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม รูปแบบ และวิถีชีวิตของประชาชนไปสู่การบริโภคพลังงานมากขึ้น โดย IEA ได้คาดการณ์ปริมาณความต้องการใช้พลังงานของประเทศกำลังพัฒนาในช่วงปี 2547-2573 จะขยายตัวเฉลี่ยประมาณร้อยละ 2.6 ต่อปี โดยประเทศกำลังพัฒนาในเอเซียจะมีความต้องการใช้พลังงานขยายตัวเพิ่มขึ้นเฉลี่ยเพียงร้อยละ 3.2 ต่อปี จากการศึกษาของธนาคารโลกพบว่า ประเทศไทยมีอัตราการพึ่งพาการนำเข้าพลังงานในอัตราที่สูง โดยหากพิจารณาเปรียบเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเซีย จะพบว่าเศรษฐกิจไทยมีระดับการพึ่งพิงสินค้าพลังงานสูงกว่า เกาหลีใต้ อินเดีย จีน และอินโดนีเซีย ส่งผลให้ไทยเป็นประเทศที่มีความเสี่ยงต่อการผันผวนของราคาพลังงานในตลาดโลก อย่างไรก็ตาม แม้ว่าประเทศไทยจะมีการปรับตัวในด้านพลังงานโดยหันไปสู่การใช้พลังงานทดแทน ซึ่งจะส่งผลทำให้ราคาพืชพลังงานโดยเฉพาะมันสำปะหลัง อ้อย และปาล์มน้ำมันในประเทศมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น รวมทั้งอาจก่อให้เกิดปัญหาการแย่งชิงพื้นที่เพาะปลูกระหว่างพืชที่ใช้การผลิตน้ำมันกับพืชที่ใช้เพื่ออาหาร "การขยายตัวของเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต จะส่งผลให้ความต้องการใช่พลังงานขยายตัวตามไปด้วย ซึ่งในส่วนของการใช้ไฟฟ้าประมาณว่าจะมีความต้องการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องถึงร้อยละ 6 ในอีก 15 ปีข้างหน้า หรือเพิ่มขึ้นประมาณปีละ 1,800 เมกะวัตต์" รายงานจากสภาพัฒน์ระบุ
เทคโนโลยีก้าวล้ำนำสมัย เหตุการณ์ที่ 4 ที่จะเข้ามามีบทบาทต่อ "โลก" และ "ประเทศไทย" คือ "เทคโนโลยี" โดยสภาพัฒน์มองว่า แนวโน้มการผสมผสานของเทคโนโลยีจะมีความเป็นได้สูง และจะเกิดเทคโนโลยีสาขาหลักใหม่ที่สามารถประยุกต์ใช้ในหลากหลายมิติ นำไปสู่ "นวัตกรรมใหม่" ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต แบบแผนการผลิตและการตลาด รวมถึงความต้องการของผู้บริโภคที่เน้นการตอบสนองความต้องการส่วนบุคคลที่ต่างจากปัจจุบัน นอกจากนี้ พัฒนาการของเทคโนโลยีจะสร้างความสะดวกสบายในชีวิตและสังคมการทำงานให้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้รวดเร็ว รวมทั้งจะเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยดึงสมรรถณะด้านความทรงจำและความฉลาดของมนุษย์มาพัฒนาแรงงานให้มีผลิตภาพที่ดีขึ้นได้อย่างยั่งยืน "วิวัฒนาการของเทคโนโลยีและแนวโน้มของกระแสความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ที่เกิดขึ้นบนโลก จะเป็นปัญจัยสำคญในการผลักดันกระบวนการผลิตในสาขาการผลิตหลักและหล่อหลอมรูปแบบและพฤติกรรมการบริโภคของประชากรโลกให้มีวิวัฒนาการที่ก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง" เรื่องที่ 5. คือ การเงินโลก โดย "นายอาคม" อธิบายว่า ปัจจุบันความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจและการเงินโลกจะเป็นปัจจัยและแรงผลักดันที่สำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในอนาคต ซึ่งจากนี้ไปแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงด้านการเงินโลกจะมีความผันผวนมากขึ้น ในระยะยาวประเทศต่าง ๆ จะมีการรวมกลุ่มและจัดทำข้อตกลงทางการค้า การลงทุน และการเงินร่วมกันมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศและเกิดการเก็งกำไร โดยการเปลี่ยนแปลงของตลาดเงินจะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างระยะยาว นั่นหมายถึง การเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของสินทรัพย์ทางการเงินโลก ในปัจจุบันตลาดเงินยุโรปจะมีขนาดใหญ่และมีสภาพคล่องสูงรองจากตลาดเงินสหรัฐฯ แต่ในอนาคตตลาดสินทรัพย์ทางการเงินของยุโรปจะมีแนวโน้มขยายตัวสูงขึ้นกว่าตลาดสินทรัพย์ทางการเงินในสหรัฐฯ เนื่องจากธนาคารชาติส่วนใหญ่ได้หันมาสำรองเงินสกุลยูโรมากขึ้น นอกจากนี้ "ประเทศจีน" จะเริ่มเข้ามามีบทบาทในตลาดเงินโลกมากขึ้น จากการเกิดดุลการค้าในอัตราที่สูง ได้ทำให้จีนเปลี่ยนสถานะเป็นประเทศผู้ส่งออกเงินทุนหรือกลายเป็นผู้ให้กู้ ตลอดจนมีการลงทุนในตลาดต่างประเทศและเข้ามามีบทบาทในตลาดเงินโลกมากขึ้น
จุดแข่งขันยุคหน้า รวมกลุ่มสร้างข้อได้เปรียบ 6. การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจและการร่วมมือในอนุภูมิภาค จะส่งผลให้เกิดการขยายตัวทางการค้า การลงทุน และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่างๆ ของโลก ก่อเกิดตลาดการค้าใหม่ และการเปลี่ยนแปลงศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของโลกในอนาคต ยกตัวอย่าง ประเทศในทวีปยุโรปมีการรวมตัวกันเป็นสหภาพยุโรป หรือ EU ประเทศในทวีปแอฟริกา มีการรวมตัวกันเป็นสหภาพแอฟริกา และประเทศในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้มีการรวมตัวกันเป็นประชาคมประชาชาติเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ ASEAN เป็นต้น ไม่เพียงเท่านั้น จากนี้ไป "จีน" และ "อินเดีย" จะก้าวสู่การเป็นมหาอำนาจทางเศรษฐกิจโลก เนื่องจากในช่วงที่ผ่านมา "จีน" ได้ดำเนินนโยบายเปิดเสรีการค้า และการลงทุน ทั้งด้านการผ่อนคลายกฏระเบีบบให้เอื้อต่อการลงทุนจากต่างประเทศ การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ และเปิดพื้นที่เมืองชายฝั่งทะเล เพื่อรองรับการลงทุนจากต่างประเทศ ทำให้เศรษฐกิจจีนขยายตัวอย่างเต่อเนื่องในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 10 ต่อปี นอกจากนี้ จีนยังมีข้อได้เปรียบด้านค่าจ้างแรงงาน และจำนวนประชากรที่มีมากถึง 1,300 ล้านคน ทำให้จีนเป็นตลาดการลงทุนและการรองรับการบริโภคสินค้าและบริการ เช่นเดียวกับอินเดีย ที่เริ่มผ่อนกฎระเบียบเอื้อต่อการลงทุน เมื่อผนวกร่วมกับจีนทั้งในด้านค่าจ้างแรงงาน ภาษา และจำนวนประชากรก็ยิ่งเป็นแรงผลักดันให้เศรษฐกิจโลกเปลี่ยนศูนย์กลางอำนาจมาอยู่ที่ประเทศแถบเอเซียมากขึ้น สำหรับประเทศไทย จากการรวมกลุ่มในระดับอนุภูมิภาค จะทำให้ประเทศไทยมีความเชื่อมโยงของระบบโครงสร้างพื้นฐานทั้งเส้นทางคมนาคมทางบก โทรคมนาคม และโครงข่ายสายส่งไฟฟ้าและพลังงาน รวมทั้งความร่วมมือทางด้านการค้ามากขึ้น 7. การพัฒนาเมือง ชนบท และพื้นที่เศรษฐกิจ โดย "สภาพัฒน์" ชี้ว่า ในอีก 20 ปีข้างหน้า หลายประเทศในโลกมีแนวโน้มเข้าสู่ความเป็นเมืองอย่างรวดเร็ว โดยสัดส่วนประชากรที่อาศัยอยู่ในเมืองจะสูงกว่าร้อยละ60 และประเทศในเอเชียจะขยายตัวมากกว่าที่อื่น ขณะที่ประเทศไทยคาดว่าสัดส่วนประชากรเมืองจะเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 47.0 ของประชากรทั้งประเทศ ในปี 2570 โดยประเทศไทยจะมีสภาวะความเป็นเมืองขยายตัวออกไปสู่ภูมิภาคต่าง ๆ มากขึ้น ในรูปแบบของเมืองใหญ่ในภูมิภาคและประชากรเมืองจะเพิ่มขึ้นมากกว่า 14 ล้านคน ในปี 2570-2573 ประชากรในชนบทจะลดลง โดยประชากรเมืองจะกระจายตัวอยู่ในหัวเมืองใหญ่ ๆ
ตรวจสอบความประเทศไทย ทั้งนี้ เมื่อเหตุการณ์ทั้ง 7 จะเกิดขึ้น แนวโน้มการขยายตัวและการพัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจไทยในอีก 20 ปีข้างหน้าจะเป็นอย่างไร ดร.อาคม ตอบว่า ขณะนี้พื้นฐานเศรษฐกิจไทยในปัจจุบันไม่น่าเป็นห่วง โดยตลอดระยะเวลา 20 ปีที่ผ่านมา (ปี 2530-2550) ประเทศไทยมีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจเฉลี่ยร้อยละ 6.1 โดยที่ประเทศไทยมีช่วงของการขยายตัวทางเศรษฐกิจเฉลี่ยร้อยละ 10.9 ต่อปีในช่วงปี 2530-2534 และชะลอลงเป็นเฉลี่ยร้อยละ 8.1 ต่อปี ในปี 2535-2539 นอกจากนี้ หลังจากวิกฤติเศรษฐกิจตั้งแต่ปี 2542 เป็นต้นมาเศรษฐกิจไทยมีอัตราการขยายตัวอย่างต่อเนื่องเฉลี่ยร้อยละ 5.0 ในช่วงปี 2542-2550 หากเปรียบเทียบกับประเทศที่กำลังพัฒนาถือว่าประเทศไทยอยู่ในระดับที่น่าพอใจ โดยขนาดเศรษฐกิจไทยอยู่ในอันดับที่ 11 จาก 25 ประเทศที่กำลังพัฒนาที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุด และเป็นประเทศที่มีอัตราการขยายตัวสูงสุดเป็นอันดับ 4 เฉลี่ยร้อยละ 5.9 ในช่วง 25 ปีที่ผ่านมา
แต่วันนี้ระบบการค้า การลงทุนมีความสลับซับซ้อนและมีการแข่งขันรุนแรงมากขึ้น ดังนั้นวันนี้เราต้องวางตำแหน่งของประเทศในอนาคต บนแนวคิดการแก้ปัญหาจุดอ่อนในเชิงโครงสร้างของเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในปัจจุบันที่ส่งผลให้เศรษฐกิจขาดเสถียรภาพได้ง่าย ซึ่งต้องมีการเตรียมตัวให้พร้อมตั้งแต่เนิ่น ๆ โดยเอาแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอีก 20 ปีข้างหน้ามาเป็นกรอบในการพิจารณา ทั้งนี้ สภาพัฒน์ ได้มองแนวโน้มเศรษฐกิจไทยในอีก 20 ปี ไว้อย่างน่าสนใจ โดยระบุว่า หากการลงทุนขยายตัวเฉลี่ยประมาณร้อยละ 3 ต่อปีจะส่งผลให้เศรษฐกิจไทยขยายตัวได้ประมาณเฉลี่ยร้อยละ 4.48 ต่อปีในช่วงปี 2551-2570 หรือหากสามารถผลักดันการลงทุนให้ขยายตัวให้ได้เฉลี่ยร้อยละ 5 ต่อปีและการลงทุนที่เพิ่มขึ้นสามารถผลักดันให้ผลิตภาพการผลิตรวมในทุกสาขาการผลิตเพิ่มขึ้นจากกรณีต่ำอีกร้อยละ 0.22 ต่อปี เศรษฐกิจไทยจะขยายตัวได้เฉลี่ยประมาณร้อยละ 5.46
และในกรณีที่ 3.หากการลงทุนเพิ่มขึ้นเป็นเฉลี่ยร้อยละ 7 และเพิ่มผลิตภาพการผลิตรวมจากกรณีฐานได้อีกเฉลี่ยร้อยละ 0.44 ต่อปีจากกรณีต่ำ คาดว่าเศรษฐกิจไทยจะขยายตัวได้เฉลี่ยประมาณร้อยละ 6.47 ต่อปี หรือ 4. จากผลการประมาณการในทุกระดับของสมมติฐานการลงทุนและผลิตภาพการผลิต เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวในระยะยาว เนื่องจากมีข้อจำกัดจากการชะลอตัวและการลงลงของกำลังแรงงาน โดยคาดว่าเศรษฐกิจไทยจะขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 5.42 ในช่วงปี 2551-2555 และปรับตัวเข้าสู่ระดับสูงสุดร้อยละ 5.65 ในช่วงปี 2556-2560 ก่อนที่จะชะลอตัวลงเป็นร้อยละ 5.55 และร้อยละ 5.21 ในช่วงปี 2561-2565 และ 2566-2570 ตามลำดับ
ยุทธศาสตร์สภาพัฒน์ เน้นเศรษฐกิจสู่อุตสาหกรรมต้นน้ำ
อย่างไรก็ตาม จากเอกสารประกอบการประชุมประจำปี 2551 ของสภาพัฒน์ ในหัวข้อ ภาพของเศรษฐกิจไทยที่พึงปรารถนาในอีก 20 ปีข้างหน้า ระบุไว่อย่างน่าสนใจว่า ในส่วนของภาคผลิตจะมีการเชื่อมโยงกันมากขึ้นระหว่างภาคการเกษตร อุตสาหกรรมและบริการ นำไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยผ่านการเชื่อมโยงในน฿ปห่วงโซ่อุปการผลิต และการรวมตัวในลักษณะของคลัสเตอร์ โดยที่ภาคการเกษตรยังคงเป็นฐานการผลิตที่สำคัญที่จะเชื่อมโยงในการสร้างมูลค่าในภาคอุตสาหกรรมและบริการ นอกจากนี้ ยังมีเรื่องความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาค โดยที่ประเทศไทยจะต้องมีบทบาทนำด้านเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคในรูแปบบพันธมิตรเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในอนุภูมิภาค โดยสร้างบทบาทนำผ่านการให้ความช่วยเหลือในรูปเงินให้เปล่า เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ และการช่วยเหลือทางวิชาการ ขณะที่ความมั่นคงทางด้านพลังงาน จะมีการพัฒนาและใช้ประโยชน์จากแหล่งพลังงานในพื้นที่ทับซ้อนร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน และเป็นศูนย์กลางการเชื่อมโยงด้าไฟฟ้าและก๊าซธรรมชาติในภูมิภาคอาเซียน ไม่เพียงเท่านั้นในด้านโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์จะมีการเชื่อมโยงกันมากขึ้น สำหรับประเด็นยุทธ์ศาสตร์ สภาพัฒน์ ชี้ว่า ในภาคการผลิต จะต้องเร่งรัดปรับปรุงผลิตภาพการผลิตให้สูงขึ้น พร้อมกับสร้างมูลค่าเพิ่มในภาคการผลิตบนพื้นฐานองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม พร้อมกับสนับสนุนการลงทุนในอุตสาหกรรมต้นน้ำขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงไปสู่อุตสาหกรรมต่อเนื่องและธุรกิจอุตสาหกรรมและบริการสร้างสรรค์ รวมถึงสนุบสนุนการลงทุนในต่างประเทศ และให้ความสำคัญต่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกทางการลงทุน และพัฒนาการบริการใหม่ ๆ ควบคู่ไปกับการท่องเที่ยวให้สามารถเป็นแหล่งรายได้ของประเทศ และพัฒนาแรงงานใหม่ให้มีความพร้อมที่จะเข้าสู่ภาคการผลิตและพัฒนาแรงงานที่มีอยู่ในตลาดให้สอดคล้องกับการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ที่สำคัญยังมีการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ไม่ว่าจะเป็นส่งเสริมการพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเล รวมทั้งการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจชายแดน รวมทั้งการเตรียมพื้นที่รองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรม การค้า การลงทุนในพื้นที่ที่มีศักยภาพของประเทศ นี่คือแผน 20 ปี ของ สภาพัฒน์ หน่วยงานที่วางโรดแมฟให้กับประเทศ !!!
ภาคธุรกิจเอกชน เสนอแผนรับมือกับภัยคุกคาม
อย่างไรก็ตาม ยังมีมุมมองจากภาคธุรกิจที่เข้าร่วมในการระดมสมองครั้งนี้ เสนอแผนรับมือกับสิ่งที่กำลังเกิดขึ้น เพื่อวางโรดแมฟประเทศ 20 ปีข้างหน้า หวังสร้างแต้มต่อในการแข่งขัน นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ ประธานกรรมการบริหารธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ที่ผ่านมามีการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ ตามกระแสโลกาภิวัตน์ จนทำให้ต้องเจอกับปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจไปพร้อมกับการเติบโตทางเศรษฐกิจ เพราะการวิ่งตามกระแสโลกาภิวัตน์ จึงต้องทบทวนแนวทางดังกล่าวซึ่งต้องให้ความสำคัญด้านกระบวนการเรียนรู้ให้รอบด้าน เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เข้มแข็ง "ผมมองว่าอีก 20 ปีข้างหน้าจะเป็นยุคแห่งการเรียนรู้" เขาย้ำ ผู้บริหาร ธนาคารกรุงเทพ รายนี้เชื่อว่า ประเทศไทยต้องยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อรองรับระบบโลกาภิวัตน์ที่ยังมีอิทธิพลต่อเศรษฐกิจและสังคมไทย ซึ่งกระบวนการเรียนรู้ ภายใต้โจทย์ที่เหมาะสม กับกระบวนการขยายผล และกระบวนการทำงานร่วมกัน เป็นสิ่งสำคัญที่จะผลักดันในเรื่องดังกล่าว เช่นเดียวกัน รัฐบาลจะต้องเป็นหนึ่งในหลายปัจจัยในการขับเคลื่อน ส่วนมุมมอง ดร.ธวัชชัย ยงกิตติกุล เลขาธิการสมาคมธนาคารไทย กล่าวว่า ขณะนี้ประเทศไทยต้องเผชิญกับปัจจัยที่มีผลกระทบทั้งภายนอกและภายใน 5 เรื่อง ที่ต้องเตรียมรับมือ ได้แก่ 1. ภาวะโลกร้อนที่อีก 10 ปีข้างหน้า ยังคงเป็นปัญหาใหญ่และมีผลกระทบต่อการค้าของโลก ซึ่งสหรัฐและสหภาพยุโรปจะใช้ประเด็นโลกร้อน มาเป็นมาตรการกีดกันสินค้า 2. ภาวะที่เงินทุนที่ไม่เกี่ยวข้องกับการค้า มีมากกว่าเงินทุนที่ใช้ในการค้าขายถึง 6 เท่า ทำให้เกิดการเคลื่อนย้ายเงินทุนไปลงทุนเก็งกำไรในสินทรัพย์ต่างๆ ทั่วโลก 3. การลงนามข้อตกลงเอฟทีเอ ที่ประเทศเล็กต้องเสียเปรียบประเทศใหญ่ๆ อยู่เสมอ 4. โครงสร้างประชากรที่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และ 5. การขยายตัวของเมืองที่ทำให้พื้นที่เพาะปลูกลดลง ซึ่งวิธีการรับมือกับเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น "ดร.ธวัชชัย" บอกว่า "เราต้องพึงตัวเองก่อน โดยต้องเพิ่มขีดความสามารถในทุก ๆ ด้าน" เขาย้ำว่า จากนี้ไปกองทุนเฮดจ์ฟันด์ จะเข้ามาอิทธิพลต่อการลงทุนในตลาดหุ้นเอเซียมากขึ้นหลังจากผลตอบแทนจากการลงทุนในยุโรปหรือสหรัฐฯ ลดลง ขณะที่เงินทุนจากเอเซียจะไหลเข้าไปซื้อที่ดิน สิ่งปลูกสร้างในสหรัฐฯมากขึ้น เนื่องจากมีราคาถูกอันเป็นผลมาจากซับไพร์ส เช่นเดียวกับ ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี ประธานคณะกรรมการธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย กล่าวว่า การที่ประเทไทยจะสุ้กับประเทศคู่ค้าได้นั้น เราจะต้องมีความต่าง โดยใช้โลเกชั่นของประเทศให้เป็นประโยชน์ ที่สำคัญประเทศไทยต้องมีความมั่นคงเรื่องพลังงาน
วันอังคารที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2551
ลูกบาศก์ของรูบิค หรือที่เรียกกันว่า ลูกรูบิค เป็นของเล่นลับสมอง ประดิษฐ์ขึ้นในปี ค.ศ. 1974 โดย เออร์โน รูบิค (Ernö Rubik) ซึ่งเป็น ประติมากร และ ศาสตราจารย์ในสาขาสถาปนิก ชาวฮังการี โดยทั่วไป ตัวลูกบาศก์นั้นทำจากพลาสติก แบ่งเป็นชิ้นย่อยๆ 26 ชิ้น ประกอบกันเป็นรูปลูกบาศก์ที่สามารถบิดหมุนไปรอบๆ ได้ ส่วนที่มองเห็นได้ของแต่ละด้าน จะประกอบด้วย 9 ส่วนย่อย ซึ่งมีสีทั้งหมด 6 สี ส่วนประกอบที่หมุนไปมาได้นี้ทำให้ การจัดเรียงสีของส่วนต่างๆ สลับกันได้หลายรูปแบบ จุดประสงค์ของเกมคือ การจัดเรียงให้แถบสีทั้ง 9 ที่อยู่ในด้านเดียวกันของลูกบาศก์ ซึ่งมีทั้งหมด 6 ด้านนั้น มีสีเดียวกัน
ลูกบาศก์ของรูบิค ได้รับความนิยมสูงสุดในช่วงต้นของทศวรรษ 1980 และ ได้กลายเป็นหนึ่งในสัญลักษณ์ ของ วัฒนธรรมสมัยนิยม ของยุคนั้น ลูกบาศก์ของรูบิคนั้นถือได้ว่าเป็นเป็นของเล่นที่ขายได้มากที่สุดในโลก โดยมีจำนวนยอดขายรวม ทั้งของแท้ และ เลียนแบบ มากกว่า 300,000,000 ชิ้นทั่วโลก
ประวัติ
ลูกบาศก์ของรูบิค นั้นถูกคิดค้นขึ้นในปี ค.ศ. 1974 โดย เออร์โน รูบิค ประติมากร และ ศาสตราจารย์สถาปนิก ชาวฮังการี ผู้ซึ่งมีความสนใจในเรขาคณิต และ รูปทรงสามมิติ เออร์โนได้จดสิทธิบัตร HU170062 สิ่งประดิษฐ์ ในชื่อ "ลูกบาศก์มหัศจรรย์" (Magic Cube) ในปี ค.ศ. 1975 ที่ประเทศฮังการี แต่ไม่ได้ทำการจดสิทธิบัตรนานาชาติ ได้มีการผลิดชุดแรกเพื่อสำรวจตลาด ในปลายปี ค.ศ. 1977 โดยทำการจำหน่ายในร้านของเล่นในกรุงบูดาเปสต์
หลังจากนั้นลูกบาศก์ นี้ก็เริ่มได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นทั่วทั้งประเทศฮังการี โดยการบอกเล่าปากต่อปาก วงการศึกษาในกลุ่มประเทศตะวันตก ก็เริ่มให้ความสนใจในลูกบาศก์นี้ ในเดือนกันยายน ปี ค.ศ. 1979 บริษัท ไอดีลทอยส์ (Ideal Toys) ได้ทำข้อตกลงเพื่อทำการจำหน่ายทั่วโลก และได้มีการเปิดตัวของลูกบาศก์นี้ในระดับนานาชาติที่ งานแสดงของเล่นที่กรุงลอนดอน นครนิวยอร์ก เมืองนูร์นแบร์ก และ กรุงปารีส ในช่วงต้นปีค.ศ. 1980 บริษัทไอดีลทอยส์ ได้เปลี่ยนชื่อของเล่นนี้เป็น "ลูกบาศก์ของรูบิค" (Rubik's Cube) และ ได้มีการส่งออกลูกบาศก์นี้จากประเทศฮังการีชุดแรกเพื่อการจำหน่าย ในเดือน พฤษภาคม ค.ศ. 1980
ชื่อ "ลูกบาศก์ของรูบิค" นั้นเป็นเครื่องหมายการค้า ของบริษัท "Seven Towns Limited" ดังนั้นบริษัทไอดีลทอยส์จึงลังเลที่จะผลิตของเล่นนี้ ในขณะนั้นจึงปรากฏของลอกเลียนแบบออกจำหน่าย ในปี ค.ศ. 1984 บริษัทไอดีลทอยส์ได้แพ้คดีการล่วงละเมิดสิทธิบัตรหมายเลข US3655201 ซึ่งฟ้องร้องโดย แลร์รี นิโคลส์ Larry Nichols ชาวญี่ปุ่นชื่อ อิชิกิ เทรุโตชิ (Terutoshi Ishigi) ได้ทำการจดสิทธิบัตรของเล่นที่มีลักษณะเกือบจะเหมือนกันกับลูกบาศก์ของรูบิค หมายเลข JP55‒8192 ที่ประเทศญี่ปุ่น ในช่วงเวลาระหว่างที่สิทธิบัตรที่รูบิคขอนั้นกำลังอยู่ระหว่างดำเนินการ นายอิชิกิ จึงได้รับการยอมรับโดยทั่วไปว่าเป็นการค้นพบซ้ำกัน
หลักการทำงาน
ภาพชิ้นส่วน
ลูกบาศก์ของรูบิค มีขนาดมาตรฐานโดยประมาณ 2 1/8 นิ้ว (5.4 ซ.ม.) กว้าง ยาวและสูง ลูกบาศก์ประกอบด้วยลูกบาศก์ขนาดย่อม 26 ชิ้น ชิ้นกลางหน้าของแต่ละด้าน จะเป็นชิ้นที่มีสีหน้าเดียว และเชื่อมต่อกับกลไกการหมุนที่แกนกลาง ซึ่งชิ้นกลางหน้าที่ยึดติดกับแกนกลางนี้จะเป็นโครงสร้างที่ขัดส่วนที่เหลือไว้ด้วยกัน และหมุนไปมาได้ ดังนั้นทั้งหมดจะมี 27 ชิ้นส่วน แกนกลางสำหรับหมุน 1 ชิ้น ชิ้นกลางหน้า 6 ชิ้น และ ชิ้นอื่นๆ อีก 20 ชิ้น ซึ่งสามารถประกอบเข้ากับชิ้นกลางหน้าที่ยึดติดกับแกนหมุนได้พอดี โดยจะมีส่วนที่ออกแบบให้ยึดขัดกันไม่ให้หลุดออกจากกัน แต่หมุนไปมาได้ การแยกชิ้นส่วนของลูกบาศก์ก็ไม่ได้ยากอะไร เพียงแต่งัดชิ้นที่เป็นมุมให้หลุดออกมาส่วนที่เหลือก็จะหลุดออกจากกันเอง การแก้ปัญหาลูกบาศก์ของรูบิคโดยวิธีการแยกส่วนประกอบเป็นวิธีที่ง่าย แต่ขาดความท้าทาย
นอกเหนือจากชิ้นกลางหน้าแล้ว จะมีลูกบาศก์ขนาดย่อมอีก 20 ชิ้น มี 12 ชิ้นเป็นชิ้นขอบ ซึ่งมีสี 2 ด้าน และ 8 ชิ้นเป็นชิ้นมุม ซึ่งมีสี 3 ด้าน
[แก้] การเรียงสลับเปลี่ยน
ลูกบาศก์ของรูบิค มีจำนวนรูปแบบการเรียงสลับเปลี่ยนที่แตกต่างกันทั้งหมด (8! × 38−1) × (12! × 212−1)/2 = 43,252,003,274,489,856,000 รูปแบบ (~4.3 × 1019) ประมาณ 43 ล้าน ล้าน ล้าน (quintillion) รูปแบบ ถึงแม้จะมีรูปแบบการจัดเรียงเป็นจำนวนมาก แต่ทุกรูปแบบสามารถแก้ได้ภายในการบิด 29 ครั้งหรือ น้อยกว่าลูกบิด
การแข่งขัน
มีการจัดการแข่งขัน ปั่นลูกบาศก์ (speedcubing) เพื่อหาผู้ที่สามารถแก้ปัญหาลูกบาศก์ของรูบิคได้เร็วที่สุด การแข่งขันครั้งแรกจัดขึ้นที่กรุงบูดาเปสต์ ในวันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1982 ผู้ชนะเลิศการแข่งขันในครั้งนั้นคือ มิน ไท (Minh Thai) นักศึกษาชาวเวียดนามจาก นครลอสแอนเจลิส โดยใช้เวลา 22.95 วินาที สถิติโลกอย่างเป็นทางการที่ยอมรับโดย สหพันธ์ลูกบาศก์โลก (World Cube Association) ซึ่งเป็นองค์กรควบคุมการจัดการแข่งขัน และ สถิติ ในปัจจุบันคือ 14.52 วินาที (โดยการเฉลี่ยจากการแก้ปัญหาลูกบาศก์ 5 ลูก) ของ "แมกกี" มากิซูมิ โชทาโร่ (Shotaro "Macky" Makisumi) นักศึกษาโรงเรียนมัธยม ชาวญี่ปุ่น ซึ่งอาศัยในมลรัฐแคลิฟอร์เนีย จากการแข่งขันที่ เมืองพาซาดีนา มลรัฐแคลิฟอร์เนีย ในวันที่ 16 ตุลาคม ค.ศ. 2004 ในขณะนั้นมากิซูมิ ซึ่งมีอายุ 14 ปี เป็นนักเรียนมัธยม เกรด8 ได้เข้าร่วมการแข่งขันฤดูใบไม้ร่วง ปี ค.ศ. 2004 จัดขึ้นที่ สถาบันเทคโนโลยีแห่งแคลิฟอร์เนีย (Caltech) นอกจากนี้แล้วเขายังเป็นผู้ทำสถิติเร็วที่สุดในการแก้ลูกบาศก์ลูกเดียวโดยใช้ 12.11 วินาที
นอกจากนี้ยังมีสถิติอื่นที่ไม่เป็นทางการ ที่ใช้เวลาน้อยกว่านี้ แต่เนื่องจากไม่ได้มีการจัดการแข่งขัน และ จับเวลา ที่เป็นมาตรฐาน ดังนั้นมีเพียงสถิติที่ได้รับการรับรองจากสหพันธ์ลูกบาศก์โลกเท่านั้น ที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วไป
ในปี ค.ศ. 2004 สหพันธ์ลูกบาศก์โลก ได้จัดทำมาตรฐานใหม่ โดยใช้อุปกรณ์จับเวลาที่เรียกว่า นาฬิกาจับเวลาสแตคแมท (Stackmat timer)
ลูกบาศก์ของรูบิค
ค.ศ. 2007 คาวาซากิเฮฟวี่อินดรัสทรีส์ (Kawasaki Heavy Industries) ผู้ผลิตเครื่องจักรของญี่ปุ่น โชว์ตัวหุ่นยนต์ชื่อ "Cube-kun" ที่มีความสามารถการเล่นรูบิคได้อย่างรวดเร็ว [1]
ลูกบาศก์ของรูบิค ได้รับความนิยมสูงสุดในช่วงต้นของทศวรรษ 1980 และ ได้กลายเป็นหนึ่งในสัญลักษณ์ ของ วัฒนธรรมสมัยนิยม ของยุคนั้น ลูกบาศก์ของรูบิคนั้นถือได้ว่าเป็นเป็นของเล่นที่ขายได้มากที่สุดในโลก โดยมีจำนวนยอดขายรวม ทั้งของแท้ และ เลียนแบบ มากกว่า 300,000,000 ชิ้นทั่วโลก
ประวัติ
ลูกบาศก์ของรูบิค นั้นถูกคิดค้นขึ้นในปี ค.ศ. 1974 โดย เออร์โน รูบิค ประติมากร และ ศาสตราจารย์สถาปนิก ชาวฮังการี ผู้ซึ่งมีความสนใจในเรขาคณิต และ รูปทรงสามมิติ เออร์โนได้จดสิทธิบัตร HU170062 สิ่งประดิษฐ์ ในชื่อ "ลูกบาศก์มหัศจรรย์" (Magic Cube) ในปี ค.ศ. 1975 ที่ประเทศฮังการี แต่ไม่ได้ทำการจดสิทธิบัตรนานาชาติ ได้มีการผลิดชุดแรกเพื่อสำรวจตลาด ในปลายปี ค.ศ. 1977 โดยทำการจำหน่ายในร้านของเล่นในกรุงบูดาเปสต์
หลังจากนั้นลูกบาศก์ นี้ก็เริ่มได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นทั่วทั้งประเทศฮังการี โดยการบอกเล่าปากต่อปาก วงการศึกษาในกลุ่มประเทศตะวันตก ก็เริ่มให้ความสนใจในลูกบาศก์นี้ ในเดือนกันยายน ปี ค.ศ. 1979 บริษัท ไอดีลทอยส์ (Ideal Toys) ได้ทำข้อตกลงเพื่อทำการจำหน่ายทั่วโลก และได้มีการเปิดตัวของลูกบาศก์นี้ในระดับนานาชาติที่ งานแสดงของเล่นที่กรุงลอนดอน นครนิวยอร์ก เมืองนูร์นแบร์ก และ กรุงปารีส ในช่วงต้นปีค.ศ. 1980 บริษัทไอดีลทอยส์ ได้เปลี่ยนชื่อของเล่นนี้เป็น "ลูกบาศก์ของรูบิค" (Rubik's Cube) และ ได้มีการส่งออกลูกบาศก์นี้จากประเทศฮังการีชุดแรกเพื่อการจำหน่าย ในเดือน พฤษภาคม ค.ศ. 1980
ชื่อ "ลูกบาศก์ของรูบิค" นั้นเป็นเครื่องหมายการค้า ของบริษัท "Seven Towns Limited" ดังนั้นบริษัทไอดีลทอยส์จึงลังเลที่จะผลิตของเล่นนี้ ในขณะนั้นจึงปรากฏของลอกเลียนแบบออกจำหน่าย ในปี ค.ศ. 1984 บริษัทไอดีลทอยส์ได้แพ้คดีการล่วงละเมิดสิทธิบัตรหมายเลข US3655201 ซึ่งฟ้องร้องโดย แลร์รี นิโคลส์ Larry Nichols ชาวญี่ปุ่นชื่อ อิชิกิ เทรุโตชิ (Terutoshi Ishigi) ได้ทำการจดสิทธิบัตรของเล่นที่มีลักษณะเกือบจะเหมือนกันกับลูกบาศก์ของรูบิค หมายเลข JP55‒8192 ที่ประเทศญี่ปุ่น ในช่วงเวลาระหว่างที่สิทธิบัตรที่รูบิคขอนั้นกำลังอยู่ระหว่างดำเนินการ นายอิชิกิ จึงได้รับการยอมรับโดยทั่วไปว่าเป็นการค้นพบซ้ำกัน
หลักการทำงาน
ภาพชิ้นส่วน
ลูกบาศก์ของรูบิค มีขนาดมาตรฐานโดยประมาณ 2 1/8 นิ้ว (5.4 ซ.ม.) กว้าง ยาวและสูง ลูกบาศก์ประกอบด้วยลูกบาศก์ขนาดย่อม 26 ชิ้น ชิ้นกลางหน้าของแต่ละด้าน จะเป็นชิ้นที่มีสีหน้าเดียว และเชื่อมต่อกับกลไกการหมุนที่แกนกลาง ซึ่งชิ้นกลางหน้าที่ยึดติดกับแกนกลางนี้จะเป็นโครงสร้างที่ขัดส่วนที่เหลือไว้ด้วยกัน และหมุนไปมาได้ ดังนั้นทั้งหมดจะมี 27 ชิ้นส่วน แกนกลางสำหรับหมุน 1 ชิ้น ชิ้นกลางหน้า 6 ชิ้น และ ชิ้นอื่นๆ อีก 20 ชิ้น ซึ่งสามารถประกอบเข้ากับชิ้นกลางหน้าที่ยึดติดกับแกนหมุนได้พอดี โดยจะมีส่วนที่ออกแบบให้ยึดขัดกันไม่ให้หลุดออกจากกัน แต่หมุนไปมาได้ การแยกชิ้นส่วนของลูกบาศก์ก็ไม่ได้ยากอะไร เพียงแต่งัดชิ้นที่เป็นมุมให้หลุดออกมาส่วนที่เหลือก็จะหลุดออกจากกันเอง การแก้ปัญหาลูกบาศก์ของรูบิคโดยวิธีการแยกส่วนประกอบเป็นวิธีที่ง่าย แต่ขาดความท้าทาย
นอกเหนือจากชิ้นกลางหน้าแล้ว จะมีลูกบาศก์ขนาดย่อมอีก 20 ชิ้น มี 12 ชิ้นเป็นชิ้นขอบ ซึ่งมีสี 2 ด้าน และ 8 ชิ้นเป็นชิ้นมุม ซึ่งมีสี 3 ด้าน
[แก้] การเรียงสลับเปลี่ยน
ลูกบาศก์ของรูบิค มีจำนวนรูปแบบการเรียงสลับเปลี่ยนที่แตกต่างกันทั้งหมด (8! × 38−1) × (12! × 212−1)/2 = 43,252,003,274,489,856,000 รูปแบบ (~4.3 × 1019) ประมาณ 43 ล้าน ล้าน ล้าน (quintillion) รูปแบบ ถึงแม้จะมีรูปแบบการจัดเรียงเป็นจำนวนมาก แต่ทุกรูปแบบสามารถแก้ได้ภายในการบิด 29 ครั้งหรือ น้อยกว่าลูกบิด
การแข่งขัน
มีการจัดการแข่งขัน ปั่นลูกบาศก์ (speedcubing) เพื่อหาผู้ที่สามารถแก้ปัญหาลูกบาศก์ของรูบิคได้เร็วที่สุด การแข่งขันครั้งแรกจัดขึ้นที่กรุงบูดาเปสต์ ในวันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1982 ผู้ชนะเลิศการแข่งขันในครั้งนั้นคือ มิน ไท (Minh Thai) นักศึกษาชาวเวียดนามจาก นครลอสแอนเจลิส โดยใช้เวลา 22.95 วินาที สถิติโลกอย่างเป็นทางการที่ยอมรับโดย สหพันธ์ลูกบาศก์โลก (World Cube Association) ซึ่งเป็นองค์กรควบคุมการจัดการแข่งขัน และ สถิติ ในปัจจุบันคือ 14.52 วินาที (โดยการเฉลี่ยจากการแก้ปัญหาลูกบาศก์ 5 ลูก) ของ "แมกกี" มากิซูมิ โชทาโร่ (Shotaro "Macky" Makisumi) นักศึกษาโรงเรียนมัธยม ชาวญี่ปุ่น ซึ่งอาศัยในมลรัฐแคลิฟอร์เนีย จากการแข่งขันที่ เมืองพาซาดีนา มลรัฐแคลิฟอร์เนีย ในวันที่ 16 ตุลาคม ค.ศ. 2004 ในขณะนั้นมากิซูมิ ซึ่งมีอายุ 14 ปี เป็นนักเรียนมัธยม เกรด8 ได้เข้าร่วมการแข่งขันฤดูใบไม้ร่วง ปี ค.ศ. 2004 จัดขึ้นที่ สถาบันเทคโนโลยีแห่งแคลิฟอร์เนีย (Caltech) นอกจากนี้แล้วเขายังเป็นผู้ทำสถิติเร็วที่สุดในการแก้ลูกบาศก์ลูกเดียวโดยใช้ 12.11 วินาที
นอกจากนี้ยังมีสถิติอื่นที่ไม่เป็นทางการ ที่ใช้เวลาน้อยกว่านี้ แต่เนื่องจากไม่ได้มีการจัดการแข่งขัน และ จับเวลา ที่เป็นมาตรฐาน ดังนั้นมีเพียงสถิติที่ได้รับการรับรองจากสหพันธ์ลูกบาศก์โลกเท่านั้น ที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วไป
ในปี ค.ศ. 2004 สหพันธ์ลูกบาศก์โลก ได้จัดทำมาตรฐานใหม่ โดยใช้อุปกรณ์จับเวลาที่เรียกว่า นาฬิกาจับเวลาสแตคแมท (Stackmat timer)
ลูกบาศก์ของรูบิค
ค.ศ. 2007 คาวาซากิเฮฟวี่อินดรัสทรีส์ (Kawasaki Heavy Industries) ผู้ผลิตเครื่องจักรของญี่ปุ่น โชว์ตัวหุ่นยนต์ชื่อ "Cube-kun" ที่มีความสามารถการเล่นรูบิคได้อย่างรวดเร็ว [1]
วันจันทร์ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2551
จีนเผยอัดฉีดเหรียญทองคนละ1.75 ล้าน ยันทีมนักกีฬายิมนาสติกหญิงไม่โกงอายุ
โดย ผู้จัดการออนไลน์
25 สิงหาคม 2551 14:58 น.
เหอ เข่อซินกับเพื่อนร่วมทีมที่ถูกตั้งข้อกังขาเรื่องอายุ
กว่างโจว เดลี่ – คณะกรรมการโอลิมปิกปักกิ่งเผยจีนทุ่มงบสำหรับกีฬาปีละ 800 ล้านหยวน โดยในปีนี้ผู้ที่ได้เหรียญทองจะได้เงินอัดฉีดคนละ 350,000 หยวน ซึ่งมากกว่าเอเธนส์เมื่อ 4 ปีก่อน นอกจากนั้นหลังคณะกรรมการโอลิมปิกสากล ได้ขอให้ทางสหพันธ์ยิมนาสติกนานาชาติตรวจสอบเรื่องข้อกังขาที่หลายฝ่ายชี้ว่านักยิมนาสติกหญิงจีนโกงอายุไปแข่งขัน ล่าสุดทางไอโอซีก็ยืนยันแล้วว่า นักกีฬาจีนมีคุณสมบัติถูกต้องตามกฎเกณฑ์ วานนี้ ( 24 ส.ค.) นายหลิว เผิงประธานคณะกรรมการโอลิมปิกจีน และประธานตัวแทนการกีฬาแห่งประเทศจีนได้เปิดเผยต่อสื่อมวลชนเป็นครั้งแรกว่า ในช่วงที่ผ่านมา แต่ละปีจีนได้ทุ่มเงินให้กับการกีฬาปีละ 800 ล้านหยวน (ประมาณ 4,000 ล้านบาท) ในขณะที่ผู้สื่อข่าวได้ตั้งคำถามถึงว่า การที่ได้รับชัยชนะและเหรียญในโอลิมปิกมากมายอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อนของจีนในครั้งนี้ จะส่งผลต่อการลงทุนด้านกีฬาของประเทศในอนาคตหรือไม่ คุณหลิวได้ระบุว่า ในช่วงที่ผ่านมา 800 ล้านหยวนที่จ่ายไปเป็นเงินที่ใช้ในหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นการจ่ายเงินเดือนคน 5,000 คน ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน การวิจัยทางด้านกีฬา และการต้อนรับแขกจากที่ต่างๆ ดังนั้นในอนาคตก็คงจะรักษาระดับนี้ต่อไป จะไม่เพิ่มหรือไม่ลด นอกจากนั้น หลิวยังได้เปิดเผยว่า สำหรับนักกีฬาจีนที่ได้เหรียญทองจะมีการให้รางวัลเป็นกำลังใจด้วยเงิน 350,000 หยวน (ราว 1.75 ล้านบาท) ต่อคน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากผู้ที่ได้เหรียญในโอลิมปิกเอเธนส์เมื่อ 4 ปีก่อนที่ได้รับเพียง 200,000 หยวนหรือราว (1 ล้านบาท) เท่านั้น การที่จีนเป็นเจ้าเหรียญทอง โดยได้ครอบครองเหรียญทองทั้งสิ้น 51 เหรียญ และมีเหรียญรวมอยู่ที่ 100 เหรียญ เมื่อเทียบกับการทุ่มเงินเพื่อพัฒนากีฬาในช่วงที่ผ่านมาแล้วเท่ากับว่าหากคิดกันที่เหรียญทอง จะต้องใช้งบพัฒนาราว 15.7 ล้านหยวนต่อ 1 เหรียญ/ปี และหากคำนวณจากเหรียญทั้งหมดที่จีนได้รับ จะเท่ากับว่าแต่ละเหรียญจะต้องใช้งบถึง 8 ล้านหยวน ต่อเหรียญ/ปี โต้โกงอายุยิมนาสติกหญิง นอกจากนั้น ในงานแถลงข่าว ยังได้มีการเชิญตัวแทนที่เกี่ยวข้องกับกีฬายิมนาสติกมาอธิบายถึงข้อกังขาที่ก่อนหน้านี้มีการระบุว่า จีนได้ใช้นักกีฬาที่อายุน้อยกว่าที่กำหนด คือมีอายุไม่ถึง 16 ปีตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยคุณชุย ต้าหลินรองประธานตัวแทนการกีฬาแห่งประเทศจีนได้ชี้แจงว่า “ในช่วงที่ผ่านมา สื่อมวลชนได้ให้ความสำคัญกับการกีฬาของจีนเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะปัญหาเรื่องอายุของนักกีฬายิมนาสติกหญิง ซึ่งผมสามารถยืนยันได้ว่า อายุของนักกีฬายิมนาสติกจีนนั้นสอดคล้องกับกฎเกณฑ์และกติกาของโอลิมปิก โดยก่อนหน้านี้ทางสหพันธ์ยิมนาสติกนานาชาติ (FIG)เองก็ได้ทำการตรวจสอบในเรื่องนี้อย่างจริงจัง และในท้ายที่สุดก็อนุญาตให้นักกีฬาของจีนเข้าร่วมการแข่งขัน” ขณะที่นาย Giselle Davies โฆษกคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ได้เปิดเผยว่า “ทางคณะกรรมการโอลิมปิกสากรได้ร้องขอให้สหพันธ์ยิมนาสติกนานาชาติทำการตรวจสอบเรื่องที่สังคมและผู้คนทั้งหลายได้ตั้งข้อกังขาอย่างเห็นได้ชัดในประเด็นนี้ ซึ่งทางสหพันธ์ยิมนาสติกได้ตรวจสอบตั้งแต่พาสปอร์ต บัตรประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้าน ซึ่งชี้ตรงกันว่านักกีฬาจีน เหอ เข่อซิน, เจียง อี้ว์หยวน, หยาง อีหลินมีสิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันครั้งนี้ได้” “เราคิดว่าเรื่องนี้น่าจะจบลงได้แล้ว เพราะจากการตรวจสอบเรื่องอายุพบว่าไม่มีปัญหาแต่อย่างใด และหลังจากเราพิจารณาจากหลักฐานที่ได้ และตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานแล้วเรารู้สึกพอใจกับหลักฐานดังกล่าว รวมไปถึงสูติบัตรด้วย” ทั้งนี้ก่อนหน้าที่ผ่านมา เว็บไซต์ เฉิงตู สปอร์ตส บูโร ตั้งข้อสังเกตว่า เมื่อเดือนมกราคม ปี 2006 มีการระบุว่า เหอ เข่อซิน เกิดเมื่อวันที่ 1 ม.ค. ปี 1994 เท่ากับว่า ตอนนี้เธอมีอายุเพียง 14 ขวบ และหนังสือพิมพ์ “ไชน่า เดลี่” ก็ยืนยันว่า มีเอกสารจากรัฐบาลจีนเป็นภาษาอังกฤษว่า เข่อซิน อายุ 14 ขวบจริงๆ โดยในโอลิมปิกครั้งนี้ เหอ เข่อซินได้รับเหรียญทองในประเภทบาร์ต่างระดับ และทีมยิมนาสติกสาวของจีนยังสามารถคว้าเหรียญทองประเภททีมไปอีกด้วย
โดย ผู้จัดการออนไลน์
25 สิงหาคม 2551 14:58 น.
เหอ เข่อซินกับเพื่อนร่วมทีมที่ถูกตั้งข้อกังขาเรื่องอายุ
กว่างโจว เดลี่ – คณะกรรมการโอลิมปิกปักกิ่งเผยจีนทุ่มงบสำหรับกีฬาปีละ 800 ล้านหยวน โดยในปีนี้ผู้ที่ได้เหรียญทองจะได้เงินอัดฉีดคนละ 350,000 หยวน ซึ่งมากกว่าเอเธนส์เมื่อ 4 ปีก่อน นอกจากนั้นหลังคณะกรรมการโอลิมปิกสากล ได้ขอให้ทางสหพันธ์ยิมนาสติกนานาชาติตรวจสอบเรื่องข้อกังขาที่หลายฝ่ายชี้ว่านักยิมนาสติกหญิงจีนโกงอายุไปแข่งขัน ล่าสุดทางไอโอซีก็ยืนยันแล้วว่า นักกีฬาจีนมีคุณสมบัติถูกต้องตามกฎเกณฑ์ วานนี้ ( 24 ส.ค.) นายหลิว เผิงประธานคณะกรรมการโอลิมปิกจีน และประธานตัวแทนการกีฬาแห่งประเทศจีนได้เปิดเผยต่อสื่อมวลชนเป็นครั้งแรกว่า ในช่วงที่ผ่านมา แต่ละปีจีนได้ทุ่มเงินให้กับการกีฬาปีละ 800 ล้านหยวน (ประมาณ 4,000 ล้านบาท) ในขณะที่ผู้สื่อข่าวได้ตั้งคำถามถึงว่า การที่ได้รับชัยชนะและเหรียญในโอลิมปิกมากมายอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อนของจีนในครั้งนี้ จะส่งผลต่อการลงทุนด้านกีฬาของประเทศในอนาคตหรือไม่ คุณหลิวได้ระบุว่า ในช่วงที่ผ่านมา 800 ล้านหยวนที่จ่ายไปเป็นเงินที่ใช้ในหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นการจ่ายเงินเดือนคน 5,000 คน ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน การวิจัยทางด้านกีฬา และการต้อนรับแขกจากที่ต่างๆ ดังนั้นในอนาคตก็คงจะรักษาระดับนี้ต่อไป จะไม่เพิ่มหรือไม่ลด นอกจากนั้น หลิวยังได้เปิดเผยว่า สำหรับนักกีฬาจีนที่ได้เหรียญทองจะมีการให้รางวัลเป็นกำลังใจด้วยเงิน 350,000 หยวน (ราว 1.75 ล้านบาท) ต่อคน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากผู้ที่ได้เหรียญในโอลิมปิกเอเธนส์เมื่อ 4 ปีก่อนที่ได้รับเพียง 200,000 หยวนหรือราว (1 ล้านบาท) เท่านั้น การที่จีนเป็นเจ้าเหรียญทอง โดยได้ครอบครองเหรียญทองทั้งสิ้น 51 เหรียญ และมีเหรียญรวมอยู่ที่ 100 เหรียญ เมื่อเทียบกับการทุ่มเงินเพื่อพัฒนากีฬาในช่วงที่ผ่านมาแล้วเท่ากับว่าหากคิดกันที่เหรียญทอง จะต้องใช้งบพัฒนาราว 15.7 ล้านหยวนต่อ 1 เหรียญ/ปี และหากคำนวณจากเหรียญทั้งหมดที่จีนได้รับ จะเท่ากับว่าแต่ละเหรียญจะต้องใช้งบถึง 8 ล้านหยวน ต่อเหรียญ/ปี โต้โกงอายุยิมนาสติกหญิง นอกจากนั้น ในงานแถลงข่าว ยังได้มีการเชิญตัวแทนที่เกี่ยวข้องกับกีฬายิมนาสติกมาอธิบายถึงข้อกังขาที่ก่อนหน้านี้มีการระบุว่า จีนได้ใช้นักกีฬาที่อายุน้อยกว่าที่กำหนด คือมีอายุไม่ถึง 16 ปีตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยคุณชุย ต้าหลินรองประธานตัวแทนการกีฬาแห่งประเทศจีนได้ชี้แจงว่า “ในช่วงที่ผ่านมา สื่อมวลชนได้ให้ความสำคัญกับการกีฬาของจีนเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะปัญหาเรื่องอายุของนักกีฬายิมนาสติกหญิง ซึ่งผมสามารถยืนยันได้ว่า อายุของนักกีฬายิมนาสติกจีนนั้นสอดคล้องกับกฎเกณฑ์และกติกาของโอลิมปิก โดยก่อนหน้านี้ทางสหพันธ์ยิมนาสติกนานาชาติ (FIG)เองก็ได้ทำการตรวจสอบในเรื่องนี้อย่างจริงจัง และในท้ายที่สุดก็อนุญาตให้นักกีฬาของจีนเข้าร่วมการแข่งขัน” ขณะที่นาย Giselle Davies โฆษกคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ได้เปิดเผยว่า “ทางคณะกรรมการโอลิมปิกสากรได้ร้องขอให้สหพันธ์ยิมนาสติกนานาชาติทำการตรวจสอบเรื่องที่สังคมและผู้คนทั้งหลายได้ตั้งข้อกังขาอย่างเห็นได้ชัดในประเด็นนี้ ซึ่งทางสหพันธ์ยิมนาสติกได้ตรวจสอบตั้งแต่พาสปอร์ต บัตรประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้าน ซึ่งชี้ตรงกันว่านักกีฬาจีน เหอ เข่อซิน, เจียง อี้ว์หยวน, หยาง อีหลินมีสิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันครั้งนี้ได้” “เราคิดว่าเรื่องนี้น่าจะจบลงได้แล้ว เพราะจากการตรวจสอบเรื่องอายุพบว่าไม่มีปัญหาแต่อย่างใด และหลังจากเราพิจารณาจากหลักฐานที่ได้ และตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานแล้วเรารู้สึกพอใจกับหลักฐานดังกล่าว รวมไปถึงสูติบัตรด้วย” ทั้งนี้ก่อนหน้าที่ผ่านมา เว็บไซต์ เฉิงตู สปอร์ตส บูโร ตั้งข้อสังเกตว่า เมื่อเดือนมกราคม ปี 2006 มีการระบุว่า เหอ เข่อซิน เกิดเมื่อวันที่ 1 ม.ค. ปี 1994 เท่ากับว่า ตอนนี้เธอมีอายุเพียง 14 ขวบ และหนังสือพิมพ์ “ไชน่า เดลี่” ก็ยืนยันว่า มีเอกสารจากรัฐบาลจีนเป็นภาษาอังกฤษว่า เข่อซิน อายุ 14 ขวบจริงๆ โดยในโอลิมปิกครั้งนี้ เหอ เข่อซินได้รับเหรียญทองในประเภทบาร์ต่างระดับ และทีมยิมนาสติกสาวของจีนยังสามารถคว้าเหรียญทองประเภททีมไปอีกด้วย
วันพุธที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2551
บรรยายการใช้คอมพิวเตอร์ด้วยศัพท์ภาษาไทย
สัปดาห์ที่ผ่านมาผมถูกรุ่นน้องขอร้องให้ไปบรรยายกะทันหันวันรุ่งขึ้นเรื่องการใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้นที่ศูนย์ฝึกอบรมของหน่วยราชการเพราะวิทยากรซึ่งก็คือสามีของเธอป่วยกะทันหัน เธอให้ข้อมูลว่าผู้เข้ารับการอบรมชุดนี้เป็นข้าราชการที่ถูกบังคับให้มาอบรมเพราะไม่ผ่านการประเมิน ความรู้ด้านสารสนเทศ บางคนซีแปด ซีเก้าแต่มีแนวคิดศักดินา เห็นเอกชนคนไม่มียศเป็นบริวารไปหมดขอให้ผมอดทนบรรยาย ให้จบตามหัวข้อ อย่าโต้ตอบ ผมรับปากเมื่อไปถึงห้องบรรยายผมก็เริ่มเข้าใจคำพูดของรุ่นน้องแต่ละคนคุยกันอื้ออึงขณะผมแนะนำตัว ชายคนหนึ่งพูดเสียงดังให้ผมสอนวิธีแชตหาคู่ การดูคลิปวิดิโอและเว็บไซต์โป๊ หลายคนหัวเราะสนับสนุน ผมต้องตะล่อมให้เข้าสู่บทเรียนว่า "ได้ครับแต่ต้องหัดเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อน จึงจะเข้าไปดูได้" ได้ผลทุกคนเริ่มหาปุ่มเปิดเครื่อง และความโกลาหลก็เริ่ม เพราะวิธีเปิดปิดของเครื่องแต่ละรุ่นไม่เหมือนกัน และที่น่าเวียนหัวที่สุดคือ ทำทุกอย่างแต่เครื่องไม่ทำงานหาอยู่นานจึงพบว่าปลั๊กไม่ได้เสียบแค่เปิดครบทุกเครื่องก็ถึงเวลาพักทานกาแฟแล้วหลังหมดเวลาพักผู้เข้าอบรมก็ยังยืนสูบบุหรี่หรือจับกลุ่มคุยกันผมต้องประกาศผ่านไมค์เชิญเข้าห้อง บางคนมองด้วยความไม่พอใจ ผมชี้แจงว่าต้องรีบสอน "เพราะยังมีอุปกรณ์ต่อพ่วงอีกมากมายที่ต้องเรียนรู้ เช่น มอนิเตอร์ คีย์บอร์ด เมาส์ โมเด็ม ยูพีเอส..."คุณพี่ผู้หญิงคนหนึ่งพูดแทรกขึ้นมาว่า " ขอโทษนะคะ ตามระเบียบสำนักนายกฯเวลาพิมพ์เอกสารราชการต้องใช้ภาษาไทย ช่วยแปลไอ้เตอร์ๆ เด็มๆอะไรของคุณให้เป็นคำไทยหน่อยได้ไหมคะ จะได้ก่อประโยชน์กับการทำงานบ้าง..."มีเสียงลอยมาตามลดให้ได้ยินจากท้ายห้องว่า เด็กสมัยนี้ติดไทยคำฝรั่งคำอยากให้รู้ว่าจบนอกผมฉุนกึก สูดหายใจยาว "ได้ครับ งั้นเอาใหม่เรารู้วิธีเปิดเครื่องคณิตกรณ์แล้ว บางเครื่องอาจเป็นคณิตกรณ์ส่วนบุคคลบางเครื่องเป็นคณิตกรณ์วางตัก แต่ไม่ว่าอย่างไรมันจะทำงานไม่ได้ถ้าขาดชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการและ ชุดคำสั่งประยุกต์อื่นๆ ประการต่อมาคณิตกรณ์จะต้องมีครุภัณฑ์ต่อพ่วง ซึ่งทำหน้าที่หลักสองรูปแบบ คือนำเข้าข้อมูลไปส่งหน่วยประมวลผลกลาง กับนำข้อมูลที่ประมวลแล้วมาแสดงให้เราดู"ผมชี้ไปที่จอภาพ "นี่คือเครื่องเฝ้าสังเกตซึ่งอาจหนาเทอะทะแบบจอโทรทัศน์หรือเป็นจอภาพผลึกเหลวที่ให้ความคมชัดกว่า ส่วนครุภัณฑ์ต่อพ่วงที่นำเข้าข้อมูลไปให้หน่วยประมวลผลกลางอาจอยู่ในรูปหน่วยขับ ก และหน่วยขับ ข ซึ่งสามารถอ่านและบันทึกข้อมูลเก็บไว้ในแผ่นบันทึกชนิดอ่อนปวกเปียก(floopy) หรือในจานบันทึกแบบแข็งที่หน่วยขับ อุปกรณ์นำเข้าและส่งออกข้อมูลยังมีในรูปแบบอืนๆอีก เช่น เครื่องกราดภาพ ตัวกล้ำและแยกสัญญาณ โทรภาพ แต่ที่ขาดไม่ได้เลย คือสิ่งนี้"ผมยกคีย์บอร์ดขึ้นมา"แผงแป้นอักขระซึ่งเป็นอุปกรณ์สำคัญที่สุดที่เราจะป้อนชุดคำสั่งเข้าสู่เครื่องคณิตกรณ์ จะเห็นว่าบนแผงแป้นอักขระจะมีกระดุมหรือปุ่มอักขระมากมายมีทั้งที่คุ้นเคยกันดี เช่น มหัพภาค อัฒภาค ทวิภาค วิภัชภาคยัติภังค์ ปรัศนี อัศเจรีย์ เสมอภาค สัญประกาศ ทีฆสัญญากับที่ยังไม่ได้บัญญัติ ศัพท์ เช่น กระดุมสอดแทรก กระดุมเข้าไป กระดุมหลบหนีกระดุมอวกาศถอยหลัง หรือ backspace..." วันนั้นไม่มีใครได้ดูคลิปวิดีโอ.....ไม่ได้สาธิตเรื่องเกมส์..มิฉนั้นทุกท่านจะได้พบแท่งหรรษา..ด้วย ต่อมาผมได้รับผลการประเมินการสอนว่า "ไม่น่าพอใจ และพูดภาษาไทยแต่ไม่รู้เรื่อง"
Pareto Principle
What is the Pareto Principle?
The misnamed Pareto principle (also known as the 20-80 rule, the law of the vital few and the principle of factor sparsity) states that for many phenomena 80% of consequences stem from 20% of the causes. The idea has rule-of-thumb application in many places, but it's also commonly and unthinkingly misused.
The principle was suggested by management thinker Joseph M. Juran. It was named after the Italian economist Vilfredo Pareto, who observed that 80% of property in Italy was owned by 20% of the Italian population. Since J. M. Juran adopted the idea, it might better be called "Juran's assumption". That assumption is that most of the results in any situation are determined by a small number of causes. That idea is often applied to data such as sales figures: "20% of clients are responsible for 80% of sales volume." This is testable, it's likely to be roughly right, and it is helpful in your future decision making.
It is important to note that many people misconstrue the principle (because of the coincidence that 20+80=100): it could just as well read that 80% of the consequences stem from 10% of the causes. Many people would reject such an "80-10" rule, but it is mathematically meaningful nevertheless.
Some hold that the principle is recursive, and may be applied to the top 20% of causes; thus there would be a "64-4" rule, and a "51.8-0.8" rule, and so on.
This is a special case of the wider phenomenon of Pareto distributions.
The Pareto principle is unrelated to Pareto efficiency, which really was introduced by Vilfredo Pareto.
Who was Vilfredo Pareto?
Vilfredo Pareto (born July 15, 1848 in France - died August 19, 1923 in Lausanne, Switzerland) made several important contributions to economics, sociology and moral philosophy, especially in the study of income distribution and in the analysis of individuals' choices. He introduced the concept of Pareto efficiency and helped develop the field of microeconomics with ideas such as indifference curves. His theories influenced Benito Mussolini and the development of Italian fascism.
The Pareto family moved to Italy in 1858. In 1870, Pareto received an engineering degree from the Turin Polytechnic Institute and he took employment with the Italian state railways. In 1886, he became a lecturer on economics and management at the University of Florence. In 1893, he was appointed as a lecturer in economics at the University of Lausanne in Switzerland where he remained for the rest of his life.
In 1906, he made the well-known observation that 20% of the population owned 80% of the property in Italy, later generalised (by Joseph M. Juran and others) into the so-called Pareto principle (for many phenomena 80% of consequences stem from 20% of the causes), and generalised further to the concept of a Pareto distribution.
The Pareto index is a measure of the inequality of income distribution.
The Pareto chart is a special type of histogram, used to view causes of a problem in order of severity from largest to smallest. It is a statistical tool that graphically shows the 20-80 rule.
Pareto's social policies were put on paper in his work, Mind and Society.
In his Trattato di Sociologia Generale he put forward the first Social cycle theory in sociology
Who was Joseph M. Juran, the real "father" of the Pareto Principle?
Joeseph M. Juran (born December 1904 in Romania) has been called the "father" of quality. Joseph M. Juran's major contribution to the world has been in the field of quality management. Perhaps most important, he is recognized as the person who added the human dimension to quality—broadening it from its statistical origins.
In 1937, Dr. Juran conceptualized the Pareto principle, which millions of managers rely on to help separate the "vital few" from the "useful many" in their activities. This is commonly referred to as the 20-80 principle. In 2003, the American Society for Quality is proposing renaming the Pareto Principle the "Juran Principle." Its universal application makes it one of the most useful concepts and tools of modern-day management.
Dr. Juran wrote the standard reference work on quality control, the Quality Control Handbook, first published in 1951 and now in its fifth edition. This handbook is the reference for most quality departments and business improvement change agents since it provides important how-to information dedicated to improving an organization's performance by improving the quality of its goods and services.
His classic book, Managerial Breakthrough, first published in 1964, presented a more general theory of quality management. It was the first book to describe a step-by-step sequence for breakthrough improvement. This process has evolved into Six Sigma today and is the basis for quality initiatives worldwide.
In 1979, Dr. Juran founded Juran Institute, an organization aimed at providing research and pragmatic solutions to enable organizations from any industry to learn the tools and techniques for managing quality.
The Juran Trilogy, published in 1986, identified and was accepted worldwide as the basis for quality management. After almost 50 years of research, his trilogy defined three management processes required by all organizations to improve. Quality control, quality improvement and quality planning have become synonymous with Juran and Juran Institute, Inc.
Juran describes quality from the customer perspective as having two aspects: higher quality means a greater number of features that meet customers' needs. The second aspect relates to "freedom from trouble": higher quality consists of fewer defects.
As a result of the power and clarity of Joseph Juran's thinking and the scope of his influence, business leaders, legions of managers and his fellow theorists worldwide recognize Dr. Juran as one of "the vital few" —a seminal figure in the development of management theory. Juran has contributed more to the field and over a longer period of time than any other person, and yet, feels he has barely scratched the surface of his subject. "My job of contributing to the welfare of my fellow man," writes Juran, "is the great unfinished business.
The misnamed Pareto principle (also known as the 20-80 rule, the law of the vital few and the principle of factor sparsity) states that for many phenomena 80% of consequences stem from 20% of the causes. The idea has rule-of-thumb application in many places, but it's also commonly and unthinkingly misused.
The principle was suggested by management thinker Joseph M. Juran. It was named after the Italian economist Vilfredo Pareto, who observed that 80% of property in Italy was owned by 20% of the Italian population. Since J. M. Juran adopted the idea, it might better be called "Juran's assumption". That assumption is that most of the results in any situation are determined by a small number of causes. That idea is often applied to data such as sales figures: "20% of clients are responsible for 80% of sales volume." This is testable, it's likely to be roughly right, and it is helpful in your future decision making.
It is important to note that many people misconstrue the principle (because of the coincidence that 20+80=100): it could just as well read that 80% of the consequences stem from 10% of the causes. Many people would reject such an "80-10" rule, but it is mathematically meaningful nevertheless.
Some hold that the principle is recursive, and may be applied to the top 20% of causes; thus there would be a "64-4" rule, and a "51.8-0.8" rule, and so on.
This is a special case of the wider phenomenon of Pareto distributions.
The Pareto principle is unrelated to Pareto efficiency, which really was introduced by Vilfredo Pareto.
Who was Vilfredo Pareto?
Vilfredo Pareto (born July 15, 1848 in France - died August 19, 1923 in Lausanne, Switzerland) made several important contributions to economics, sociology and moral philosophy, especially in the study of income distribution and in the analysis of individuals' choices. He introduced the concept of Pareto efficiency and helped develop the field of microeconomics with ideas such as indifference curves. His theories influenced Benito Mussolini and the development of Italian fascism.
The Pareto family moved to Italy in 1858. In 1870, Pareto received an engineering degree from the Turin Polytechnic Institute and he took employment with the Italian state railways. In 1886, he became a lecturer on economics and management at the University of Florence. In 1893, he was appointed as a lecturer in economics at the University of Lausanne in Switzerland where he remained for the rest of his life.
In 1906, he made the well-known observation that 20% of the population owned 80% of the property in Italy, later generalised (by Joseph M. Juran and others) into the so-called Pareto principle (for many phenomena 80% of consequences stem from 20% of the causes), and generalised further to the concept of a Pareto distribution.
The Pareto index is a measure of the inequality of income distribution.
The Pareto chart is a special type of histogram, used to view causes of a problem in order of severity from largest to smallest. It is a statistical tool that graphically shows the 20-80 rule.
Pareto's social policies were put on paper in his work, Mind and Society.
In his Trattato di Sociologia Generale he put forward the first Social cycle theory in sociology
Who was Joseph M. Juran, the real "father" of the Pareto Principle?
Joeseph M. Juran (born December 1904 in Romania) has been called the "father" of quality. Joseph M. Juran's major contribution to the world has been in the field of quality management. Perhaps most important, he is recognized as the person who added the human dimension to quality—broadening it from its statistical origins.
In 1937, Dr. Juran conceptualized the Pareto principle, which millions of managers rely on to help separate the "vital few" from the "useful many" in their activities. This is commonly referred to as the 20-80 principle. In 2003, the American Society for Quality is proposing renaming the Pareto Principle the "Juran Principle." Its universal application makes it one of the most useful concepts and tools of modern-day management.
Dr. Juran wrote the standard reference work on quality control, the Quality Control Handbook, first published in 1951 and now in its fifth edition. This handbook is the reference for most quality departments and business improvement change agents since it provides important how-to information dedicated to improving an organization's performance by improving the quality of its goods and services.
His classic book, Managerial Breakthrough, first published in 1964, presented a more general theory of quality management. It was the first book to describe a step-by-step sequence for breakthrough improvement. This process has evolved into Six Sigma today and is the basis for quality initiatives worldwide.
In 1979, Dr. Juran founded Juran Institute, an organization aimed at providing research and pragmatic solutions to enable organizations from any industry to learn the tools and techniques for managing quality.
The Juran Trilogy, published in 1986, identified and was accepted worldwide as the basis for quality management. After almost 50 years of research, his trilogy defined three management processes required by all organizations to improve. Quality control, quality improvement and quality planning have become synonymous with Juran and Juran Institute, Inc.
Juran describes quality from the customer perspective as having two aspects: higher quality means a greater number of features that meet customers' needs. The second aspect relates to "freedom from trouble": higher quality consists of fewer defects.
As a result of the power and clarity of Joseph Juran's thinking and the scope of his influence, business leaders, legions of managers and his fellow theorists worldwide recognize Dr. Juran as one of "the vital few" —a seminal figure in the development of management theory. Juran has contributed more to the field and over a longer period of time than any other person, and yet, feels he has barely scratched the surface of his subject. "My job of contributing to the welfare of my fellow man," writes Juran, "is the great unfinished business.
วันพุธที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2551
วันอาทิตย์ที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2551
ความผิดพลาดของ "ไอน์สไตน์พบ พระพุทธเจ้าเห็น"
:
http://www.bangkokbiznews.com/2008/08/04/news_281417.php
"ไม่เพียงแต่วิทยาศาสตร์เท่านั้นที่ต้องได้รับการตรวจสอบความถูกต้อง แม้แต่ประเด็นทางธรรมะต่างๆ ที่ผู้เขียนกล่าวอ้าง ก็น่าจะมีผู้รู้ทางปรัชญาและพุทธศาสนามาตรวจสอบด้วยเช่นกัน"
กรุงเทพธุรกิจ ออนไลน์ : กลายเป็นประเด็นร้อนถกเถียงกันตามหน้าเวบบล็อกเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และคนอ่านทั่วไปขึ้นมาทีเดียว กรณีนักเขียนและนักวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ตัวจริงเสียงจริงอย่าง ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ จากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ออกมาทักท้วงถึงความถูกต้องของข้อมูลจากหนังสือขายดิบขายดีเรื่อง ไอน์สไตน์พบ พระพุทธเจ้าเห็น และฟิสิกส์นิวตัน งานเขียนของ ทันตแพทย์สม สุจีรา นักเขียนกำลังฮิตฮอตอยู่ในเวลานี้
ต้องยอมรับว่าหนังสือ "ไอน์สไตน์พบ พระพุทธเจ้าเห็น" นั้นได้รับการพิมพ์ซ้ำถึง 40 ครั้ง ยอดพิมพ์ไม่ต่ำกว่า 100,000 เล่ม ล่าสุดทางสำนักพิมพ์ได้มีการระงับการพิมพ์เพิ่มหนังสือทั้ง 2 เล่มแล้วจนกว่าจะได้รับการแก้ไขข้อผิดพลาดดังกล่าว
ต่อไปนี้เป็นคำอธิบายจาก ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ ว่าทำไมถึงต้องออกมาท้วงติงและเรียกร้องให้มีการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการซึ่งไม่ใช่เฉพาะเรื่องเกี่ยวกับหลักวิทยาศาสตร์เท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงหลักธรรมทางศาสนาว่ามีการบิดเบือนและคลาดเคลื่อนด้วยหรือไม่
>กรณีที่มีการระงับการพิมพ์เพิ่มหนังสือ 2 เล่ม ได้แก่ ฟิสิกส์นิวตัน และไอน์สไตน์พบ พระพุทธเจ้าเห็น จนกว่าจะมีการแก้ไขนี้ ประเด็นสำคัญคืออะไร?
ก่อนอื่นผมต้องขอชื่นชมสปิริตของผู้เขียนและชื่นชมความเป็นองค์กรคุณภาพของสำนักพิมพ์ที่เมื่อทราบว่าหนังสือทั้งสองเล่มมีข้อผิดพลาดมาก ก็ได้ระงับการพิมพ์เพิ่มไว้ก่อนจนกว่าจะมีการแก้ไข ผมมองว่าแก่นของปัญหานี้คือ การขาดการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการก่อนที่จะทำการพิมพ์หนังสือออกมา หนังสือทั้งสองเล่มนี้มีการอ้างอิงถึงหลักการ ทฤษฎี และข้อสรุปทางวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะฟิสิกส์อย่างมาก
ในกรณีที่มีการอ้างถึงความรู้ทางวิทยาศาสตร์เช่นนี้ น่าจะต้องมีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางมาช่วยตรวจสอบข้อเท็จจริงร่วมด้วย มิฉะนั้นก็จะมีความเสี่ยงที่หนังสือจะให้ข้อมูลที่ผิดพลาดได้
ที่ว่ามีความเสี่ยงก็คือหากผู้เขียนมีความรู้ที่ถูกต้องและนำเสนอได้อย่างแม่นยำ หนังสือก็จะไม่มีปัญหาอะไร แต่หากผู้เขียนมีความรู้ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน และกองบรรณาธิการไม่สามารถตรวจสอบข้อมูลและความรู้นั้นได้ ก็จะทำให้หนังสือมีที่ผิด หากคลาดเคลื่อนมากก็จะมีที่ผิดมากตามไปด้วย
>บางคนอาจมองว่าหนังสือสองเล่มนี้เขียนเพื่อให้ความบันเทิงมากกว่าให้ความรู้ คือแม้จะผิดพลาดมากก็คงไม่เป็นไร?
ลองมาดูทีละเล่ม ฟิสิกส์นิวตัน ระบุที่หน้าปกว่า "เสริมหลักสูตรวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย" และ "เหมาะสำหรับนักเรียน นักศึกษา และบุคคลทั่วไป" ดังนั้น เล่มนี้จึงต้องการให้ความรู้ทางฟิสิกส์ที่ถูกต้องแก่กลุ่มเป้าหมาย โดยมีจุดพิเศษคือเป็น "ปรากฏการณ์ใหม่ของการเรียนฟิสิกส์จากจินตนาการและความเข้าใจ"
ส่วนเล่ม ไอน์สไตน์พบ พระพุทธเจ้าเห็น นั้นต้องการแสดงให้เห็นว่า "ธรรมะพิสูจน์ได้ด้วยวิทยาศาสตร์" และ "บางสิ่งที่ไอน์สไตน์ค้นพบ พระพุทธเจ้าได้ตรัสรู้มาก่อนแล้วนับพันปี" จุดสำคัญก็คือหนังสือเล่มนี้ไม่ได้เขียนในลักษณะของนิยายหรือเรื่องสั้น แต่มีลักษณะให้ข้อมูลทั้งวิทยาศาสตร์และศาสนาพร้อมการวิเคราะห์ ตลอดจนการแทรกข้อคิดเห็นของผู้เขียนลงไปจำนวนมาก นอกจากนี้ผู้จัดพิมพ์ยังเป็นสำนักพิมพ์ที่มีผลงานน่าเชื่อถือสูงมาก อันเกิดจากการให้ความสำคัญกับคุณภาพของหนังสือและสิ่งพิมพ์ต่างๆ เสมอมา
อย่างไรก็ดี สำนักพิมพ์จัดหนังสือเล่มนี้อยู่ใน ชุดธรรมะวิทยาศาสตร์ ซึ่งหมายความว่าแม้จะมีผู้อ่านส่วนหนึ่งอ่านเพื่อความบันเทิง แต่ก็ย่อมจะมีผู้อ่านอีกจำนวนไม่น้อยที่ต้องการทราบข้อเท็จจริงทั้งทางวิทยาศาสตร์และธรรมะ และต้องการจะเข้าใจว่าวิทยาศาสตร์และธรรมะมีความสัมพันธ์กันอย่างเป็นเหตุเป็นผลอย่างไร
พูดถึงตรงนี้ก็นึกขึ้นมาได้ว่า ไม่เพียงแต่วิทยาศาสตร์เท่านั้นที่ต้องได้รับการตรวจสอบความถูกต้อง แม้แต่ประเด็นทางธรรมะต่างๆ ที่ผู้เขียนกล่าวอ้าง ก็น่าจะมีผู้รู้ทางปรัชญาและพุทธศาสนามาตรวจสอบด้วยเช่นกัน หากสำนักพิมพ์ต้องการให้หนังสือที่จัดพิมพ์ขึ้นทุกเล่มในชุดธรรมะวิทยาศาสตร์นี้มีคุณภาพสูงและเชื่อถือได้ ซึ่งจะส่งผลดีต่อทั้งผู้เขียน ผู้อ่าน และสำนักพิมพ์นั้นๆ เอง
มองในระยะยาวออกไป ย่อมเป็นไปได้ว่าอาจจะมีการอ้างถึงหนังสือเล่มหนึ่งๆ ออกไป เพื่ออ้างอิงหรือเพื่อต่อยอดทางความคิด หากหนังสือที่ถูกอ้างถึงผิดพลาดมากเสียแล้ว ผลลัพธ์ในภายภาคหน้าจะเป็นอย่างไรก็สุดจะหยั่งถึงครับ
>กรณีของหนังสือ "ฟิสิกส์นิวตัน" มีความผิดพลาดหรือคลาดเคลื่อนอย่างไร?
หนังสือเล่มนี้นำเสนอประเด็นพื้นฐานทางฟิสิกส์หลายอย่างไม่ถูกต้อง เช่น การให้ความหมายของแรงปฏิกิริยา (reaction) ผิดพลาด ในหน้า 70 และ ความสับสนระหว่างการหมุน (rotation) กับการเคลื่อนที่เป็นวงกลม (circular motion) ในบทที่ 5 และประเด็นอื่นๆ อีกจำนวนหนึ่งดังที่มีผู้ชี้ให้เห็นในเว็บ Pantip.com ห้องหว้ากอแล้ว
นอกจากนี้ยังมีการใช้คำที่แสดงถึงความไม่เข้าใจในความหมายที่แท้จริงในทางวิชาการอีกจำนวนหนึ่ง ผมยกตัวอย่างง่ายๆ เช่น "Young's modulus เป็นการวัดขนาดความแข็งของวัตถุ" ซึ่งที่ถูกต้องได้แก่ "ค่ามอดุลัสของยัง (Young's modulus) เป็นสมบัติทางกลแบบหนึ่งของวัสดุที่คำนวณได้จากความชันของเส้นกราฟระหว่างความเค้นกับความเครียดในช่วงยืดหยุ่น" ส่วนความแข็งของวัสดุเรียกว่า hardness เป็นสมบัติทางกลที่มีวิธีการวัดค่าได้หลายแบบ แต่หลักๆ ก็คือเป็นสมบัติของพื้นผิวที่ต้านทานต่อแรงกด หรือแรงที่มาขูดขีดผิวในพื้นที่แคบๆ
จะเห็นว่าเพียงแค่ประโยคสั้นๆ ซึ่งดูเผินๆ เหมือนไม่มีอะไรน่าสงสัยนี้ หากผู้รู้มาพบเข้าและแก้ไขให้ ก็จะถูกขยายความออกมามากทีเดียว
>การแก้ไขหนังสือ "ฟิสิกส์นิวตัน" สามารถทำได้อย่างไร?
สามารถทำได้และสมควรทำอย่างยิ่ง เพราะนี่คือหนังสือที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้นักเรียนระดับมัธยมปลายสนใจและเข้าใจวิชาฟิสิกส์อย่างถูกต้อง การแก้ไขคงต้องทำในหลายส่วน ในส่วนผู้เขียนจำเป็นต้องทบทวนความรู้ หรือเรียนรู้จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ ไม่ว่าหนังสือหรือบุคคล โดยทั้งนี้ต้องระมัดระวังการตีความและการคาดเดาที่เกินเลยจากบริบทการใช้งานของทฤษฎีและความรู้ชุดหนึ่งๆ
ในส่วนของบรรณาธิการจำเป็นต้องมีนักฟิสิกส์ที่มีความรู้อย่างน้อยระดับปริญญาโทเข้ามาตรวจสอบ เพราะในฉบับการพิมพ์ครั้งแรกๆ นั้นมีการอ้างถึงความรู้ทางวิทยาศาสตร์กายภาพอื่นๆ เช่น เอนโทรปี (entropy) ทฤษฎีเคออส (chaos theory) และจักรวาลวิทยา (cosmology) นักฟิสิกส์ที่จะทำหน้าที่นี้หากมีใจรักทางด้านการศึกษาด้วยก็จะดียิ่ง เพราะนี่คือหนังสือสำหรับเด็กนักเรียนที่ต้องถูกต้อง อ่านสนุกเพลิดเพลิน ตรงตามความประสงค์ของผู้จัดทำ
ในส่วนของหนังสือที่ขายไปแล้ว คงต้องแล้วแต่ว่าสำนักพิมพ์จะดำเนินการบรรเทาความเข้าใจผิดทางวิชาการที่แพร่กระจายออกไปแล้วอย่างไร เช่น มีผู้เสนอไว้ในเว็บว่าอาจมีการจัดทำไฟล์ที่แก้ไขอย่างดีแล้วขึ้นเว็บ แล้วจัดแถลงข่าวให้ผู้ที่ซื้อหนังสือไปมาดาวน์โหลดไฟล์ดังกล่าว เป็นต้น
>แล้วหนังสือ "ไอน์สไตน์พบ พระพุทธเจ้าเห็น" มีความผิดพลาดหรือคลาดเคลื่อนตรงไหนบ้าง?
เรียนตามตรงว่ากรณีของหนังสือเล่มนี้นั้นซับซ้อนกว่ากรณีหนังสือ "ฟิสิกส์นิวตัน" มากทีเดียว เพราะหนังสือ "ฟิสิกส์นิวตัน" เป็นหนังสือแค่ระดับมัธยมปลาย ถ้าตอนผมเรียนก็แค่ชั้น ม.4 แต่ยังมีที่ผิดในระดับแนวคิดพื้นฐานอย่างเรื่องแรงปฏิกิริยาเลย
แต่หนังสือ ไอน์สไตน์พบ พระพุทธเจ้าเห็น อ้างถึงวิทยาศาสตร์ที่สูงกว่า คืออย่างต่ำๆ ก็ปริญญาตรีสาขาฟิสิกส์ โดยมีเรื่องเฉพาะทางบางเรื่องที่ต้องไปเจาะลึกต่อ แล้วแต่ความสนใจของผู้ที่เรียนฟิสิกส์แต่ละคน เช่น จักรวาลวิทยา (cosmology) ในหน้า 31 ทฤษฎีสตริง (string theory) ในหน้า 39 ทฤษฎีเคออส (chaos theory) ในหน้า 128 และทฤษฎีสัมพัทธภาพ (relativity) ซึ่งปรากฏอยู่ทั่วไปในเล่มเมื่อกล่าวถึงแสงและเวลา เป็นต้น
เนื่องจากความผิดพลาดหรือคลาดเคลื่อนมีมาก ผมจะขอแบ่งเป็น 2 ลักษณะหลักๆ ได้แก่ หนึ่ง-ความผิดพลาดในแง่ของข้อเท็จจริงที่ตรงไปตรงมา และสอง-ความผิดพลาดหรือคลาดเคลื่อนในประเด็นที่ซับซ้อน
แบบแรกแก้ไขได้ไม่ลำบากนัก แต่แบบหลังอาจจะต้องเขียนบทความขนาดยาวเพื่ออธิบายกันเลยทีเดียว นอกจากความผิดพลาดที่เห็นได้อย่างชัดเจน 2 อย่างนี้แล้วยังมีอีกแง่มุมที่น่าสนใจ คือ การนำเสนอแทบจะไม่ได้แยกแยะระหว่าง ข้อเท็จจริง (fact) การตีความ (interpretation) และการคาดเดา (speculation) เลย ซึ่งจะทำให้ผู้อ่านที่ไม่มีพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ดีเพียงพอสามารถจัดระดับความน่าเชื่อถือของข้อความได้
>ช่วยยกตัวอย่างความผิดพลาดด้วยครับ?
เรื่องนี้ผมเขียนไว้ในเว็บบางส่วนแล้ว พอเป็นตัวอย่างนิดหน่อย (http://gotoknow.org/blog/science/192799 และ http://www.vcharkarn.com/varticle/37687) แต่จะขอเพิ่มเติมบ้างกรณีตัวอย่างความผิดพลาดลักษณะแรก (แก้ไขง่าย) เช่น "...วิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของเขา (หมายถึง เดอบรอย) ที่ยืนยันว่าอิเล็กตรอนเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า..." (ที่ถูกต้องคือ "....ที่ถือเสมือนว่า อิเล็กตรอนสามารถประพฤติตัวเป็นคลื่นได้" (หน้า 16) และ "คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทั้งหมดต้องถือเป็นอนุภาค และอนุภาคทุกชนิดต้องถือว่าเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า" (ที่ถูกต้องคือ "คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าอาจประพฤติตัวเป็นคลื่นหรืออนุภาคได้ แล้วแต่สภาวะเงื่อนไขที่เราทำการสังเกต" (หน้า 17)
หรือมีตัวอย่างประโยคที่ซ้อนความคิดหลายชั้น มีถูกมีผิดปนกัน ทำให้ต้องค่อยๆ แยกแยะอย่างระมัดระวัง เช่น "แสงจะเดินทางช้าลงได้ที่อุณหภูมิใกล้ศูนย์องศาสัมบูรณ์ (-273 องศาเซลเซียส) ซึ่งยังไม่มีห้องทดลองที่ไหนทำได้ และถึงทำได้มนุษย์ก็จะเสียชีวิตในเวลาไม่นานเมื่อเข้าไปอยู่ในที่อุณหภูมิต่ำขนาดนั้น" (หน้า 65)
ข้อความ "แสงจะเดินทางช้าลงได้ที่อุณหภูมิใกล้ศูนย์องศาสัมบูรณ์ (-273 องศาเซลเซียส)" - ข้อความนี้ไม่ถูกต้อง
ข้อความ "...ซึ่งยังไม่มีห้องทดลองที่ไหนทำได้ และถึงทำได้มนุษย์ก็จะเสียชีวิตในเวลาไม่นานเมื่อเข้าไปอยู่ในที่อุณหภูมิต่ำขนาดนั้น" - ข้อความนี้ถูกต้องเฉพาะท่อนแรก คือยังไม่มีใครสร้างอุณหภูมิศูนย์เคลวินได้ เพราะกฎข้อที่สามของเทอร์โมไดนามิกส์ห้ามเอาไว้ แต่มีการทดลองบางอย่างที่สามารถลดอุณหภูมิลงจนต่ำมากๆ ได้ และที่สำคัญคือ การลดอุณหภูมินั้นไม่จำเป็นต้องทำกับห้องที่คนอาศัยอยู่ แต่สามารถทำภายในแชมเบอร์ที่ควบคุมอุณหภูมิ ข้อสรุปที่ว่า "ถึงทำได้มนุษย์ก็จะเสียชีวิตในเวลาไม่นาน..." จึงแสดงถึงความไม่เข้าใจเงื่อนไขในการทดลอง
คุณจะเห็นว่าแค่เพียงประโยค 2 บรรทัดในตัวอย่างหลังสุดนี้ ยังมีแง่มุมละเอียดอ่อนที่ซ่อนอยู่ ซึ่งหากจะแก้ไขต้องใช้เวลาพอสมควรทีเดียว และประโยคในลักษณะนี้เองที่ปรากฏอยู่ทั่วไปในหนังสือเล่มนี้ ทำให้หนังสือเล่มนี้ซึ่งอ่านง่าย แต่จะแก้ไขให้ถูกต้องนั้นจำเป็นต้องใช้เวลา ความรู้ และความอดทนอย่างมาก
ส่วนตัวอย่างของกรณีที่ซับซ้อนขึ้น ซึ่งต้องใช้เวลาและความพยายามในการปรับแก้นั้น มักจะปรากฏขึ้นเมื่อกล่าวถึงแนวคิด หลักการ หรือทฤษฎีที่ซับซ้อน ตัวอย่างเช่น เมื่อกล่าวถึงทฤษฎีเคออส (Chaos Theory) ในข้อความที่ว่า "ทฤษฎีแห่งความยุ่งเหยิง (Chaos T heory) ถือว่าเป็นทฤษฎีแห่งคริสต์ศตวรรษที่ 21 ซึ่งสามารถเข้ามาแทนที่ทฤษฎีสัมพัทธภาพ ความมหัศจรรย์ของทฤษฎีนี้ก็คือ สามารถนำไปใช้อธิบายระบบได้ทุกระบบ" (หน้า 77)
(ข้อความนี้ไม่ถูกต้อง เพราะทฤษฎีเคออสศึกษาระบบที่ไม่เป็นเชิงเส้นซึ่งมีพฤติกรรมไวต่อเงื่อนไขตั้งต้น ส่วนทฤษฎีสัมพัทธภาพมี 2 ส่วน ส่วนแรกคือทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษซึ่งศึกษาการสังเกตปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ในกรอบอ้างอิงเฉื่อย และทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปซึ่งศึกษาปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ในกรอบอ้างอิงที่มีความเร่งหรือมีความโน้มถ่วง) การที่จะอ้างถึงเรื่องเหล่านี้อย่างถูกต้องจำเป็นต้องเข้าใจพื้นฐานของทฤษฎีที่กล่าวถึงอย่างถ่องแท้
>แล้วทางแก้ไขสำหรับหนังสือ "ไอน์สไตน์พบ พระพุทธเจ้าเห็น" ควรเป็นอย่างไร?
คงต้องมองจากหลายๆ ฝ่ายทั้งทางฟากอาจารย์และนักวิชาการที่เกี่ยวข้อง ผมกำลังประสานงานกับ ดร.อรรถกฤติ ฉัตรภูติ แห่งภาควิชาฟิสิกส์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อจัดสัมมนาในประเด็นที่ว่า เหตุใดฟิสิกส์ซึ่งเป็นวิทยาศาสตร์ที่มีความแม่นยำจึงถูกเข้าใจอย่างคลาดเคลื่อนได้มากถึงเพียงนี้ และทางนักวิชาการจะมีแนวทางในการแก้ไขอย่างไร เป็นต้น
ล่าสุดอาจารย์แจ้งว่าเสียงตอบรับค่อนข้างดี และหัวหน้าภาควิชาฯ รับทราบเรื่องโดยเบื้องต้นแล้ว ส่วนทางผู้เขียนและสำนักพิมพ์นั้น ก็คงจะต้องหานักวิชาการที่มีความรู้ความสามารถและมีเวลาเพียงพอที่จะลงในระดับรายละเอียด คำว่านักวิชาการนี้ผมคิดว่าถ้ามีได้ทั้งทางวิทยาศาสตร์กายภาพ โดยเฉพาะผู้ที่รู้ฟิสิกส์ยุคใหม่อย่างดี รวมทั้งผู้รู้ทางศาสนา อาจจะเป็นพระหรืออาจารย์ทางปรัชญามาทำงานร่วมกันก็น่าจะเกิดประโยชน์เป็นอย่างมาก
>ข้อดีของหนังสือสองเล่มนี้มีบ้างไหม?
มีแน่นอนครับ กรณีที่หนังสือ ฟิสิกส์นิวตัน ได้รับการแก้ไขฟิสิกส์อย่างถูกต้องทั้งหมด (อาจจะรวมถึงธรรมะด้วย) ก็สามารถใช้ในการเรียนรู้ได้ เพราะผู้เขียนมีสไตล์การนำเสนอที่น่าสนใจ ส่วนเล่ม ไอน์สไตน์พบ พระพุทธเจ้าเห็น นั้น หากเป็นเล่มที่ยังไม่ได้แก้ ซึ่งแพร่หลายไปพอสมควรแล้ว ก็คงต้องอ่านด้วยการวางใจกลางๆ คือ ไม่ด่วนเชื่อ หรือไม่เชื่อในทันที อย่างที่ชาวพุทธยึดถือหลักกาลามสูตรของพระพุทธองค์นั่นแหละ
จากนั้นถ้าสนใจจริงๆ ก็นำประเด็นที่ผู้เขียนกล่าวอ้างเอาไว้ไปสืบค้นจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ สอบถามจากผู้รู้และคิดพิจารณาด้วยตนเองโดยแยบคาย แต่ในยุคสมัยของความเร่งรีบเช่นนี้ อาจจะไม่ใช่ทุกคนที่สามารถทำเช่นนั้นได้ นี่แหละที่ทำให้นักวิชาการหรือคนที่ต้องการความถูกต้องเรียกร้องให้มีการแก้ไข เพราะถ้าทำถูกตั้งแต่ต้นแล้ว ก็จะเหนื่อยและเสียเวลาน้อยลง จะได้นำเวลาไปสร้างสรรค์สิ่งที่เป็นประโยชน์อื่นๆ ต่อไปได้
>มองว่าบทเรียนสำหรับกรณีนี้คืออะไร?
สรุปแบบกรณีทั่วไปเลย ไม่เฉพาะแต่กรณีนี้เท่านั้น สำหรับนักวิชาการนั้นเราจำเป็นต้องทำหน้าที่โดยให้ความรู้แก่สังคมหรือลุกขึ้นมาตั้งข้อสังเกตหรือทักท้วงสิ่งที่ไม่ถูกต้องและเสนอแนวทางแก้ไข ผู้อ่านที่สนใจก็ต้องเรียนรู้ที่จะแยกแยะความจริงออกจากการคาดเดา และสำหรับนักเขียนก็คงต้องศึกษาพื้นฐานของเรื่องที่ตนเองจะเขียนถึงให้ดี โดยหากเป็นเรื่องที่ศึกษาด้วยตนเอง ก็น่าจะมีที่ปรึกษาที่เชื่อถือได้
ส่วนสำนักพิมพ์ก็คงต้องมีกระบวนการตรวจสอบและสร้างระบบบรรณาธิการที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะเมื่อคุณกำลังจัดพิมพ์หนังสือที่เกี่ยวข้องกับความรู้เฉพาะด้าน ยิ่งจำเป็นต้องสร้างกลไกตรวจสอบความถูกต้องของต้นฉบับ แน่นอนว่าตัวบรรณาธิการอาจไม่สามารถรู้ได้ทุกเรื่อง แต่ควรสงสัยในเรื่องที่ตัวเองไม่รู้ และนำข้อสงสัยนั้นไปตรวจสอบ ซักถาม ขอความรู้จากแหล่งต่างๆ ซึ่งผมเชื่อว่ามีช่องทางในการตรวจสอบมากมาย
เพราะหนังสือนี่พิมพ์ออกมาแล้ว ยังอยู่อีกนาน อาจจะเกินกว่าชั่วชีวิตคนด้วยก็เป็นได้
:
http://www.bangkokbiznews.com/2008/08/04/news_281417.php
"ไม่เพียงแต่วิทยาศาสตร์เท่านั้นที่ต้องได้รับการตรวจสอบความถูกต้อง แม้แต่ประเด็นทางธรรมะต่างๆ ที่ผู้เขียนกล่าวอ้าง ก็น่าจะมีผู้รู้ทางปรัชญาและพุทธศาสนามาตรวจสอบด้วยเช่นกัน"
กรุงเทพธุรกิจ ออนไลน์ : กลายเป็นประเด็นร้อนถกเถียงกันตามหน้าเวบบล็อกเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และคนอ่านทั่วไปขึ้นมาทีเดียว กรณีนักเขียนและนักวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ตัวจริงเสียงจริงอย่าง ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ จากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ออกมาทักท้วงถึงความถูกต้องของข้อมูลจากหนังสือขายดิบขายดีเรื่อง ไอน์สไตน์พบ พระพุทธเจ้าเห็น และฟิสิกส์นิวตัน งานเขียนของ ทันตแพทย์สม สุจีรา นักเขียนกำลังฮิตฮอตอยู่ในเวลานี้
ต้องยอมรับว่าหนังสือ "ไอน์สไตน์พบ พระพุทธเจ้าเห็น" นั้นได้รับการพิมพ์ซ้ำถึง 40 ครั้ง ยอดพิมพ์ไม่ต่ำกว่า 100,000 เล่ม ล่าสุดทางสำนักพิมพ์ได้มีการระงับการพิมพ์เพิ่มหนังสือทั้ง 2 เล่มแล้วจนกว่าจะได้รับการแก้ไขข้อผิดพลาดดังกล่าว
ต่อไปนี้เป็นคำอธิบายจาก ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ ว่าทำไมถึงต้องออกมาท้วงติงและเรียกร้องให้มีการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการซึ่งไม่ใช่เฉพาะเรื่องเกี่ยวกับหลักวิทยาศาสตร์เท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงหลักธรรมทางศาสนาว่ามีการบิดเบือนและคลาดเคลื่อนด้วยหรือไม่
>กรณีที่มีการระงับการพิมพ์เพิ่มหนังสือ 2 เล่ม ได้แก่ ฟิสิกส์นิวตัน และไอน์สไตน์พบ พระพุทธเจ้าเห็น จนกว่าจะมีการแก้ไขนี้ ประเด็นสำคัญคืออะไร?
ก่อนอื่นผมต้องขอชื่นชมสปิริตของผู้เขียนและชื่นชมความเป็นองค์กรคุณภาพของสำนักพิมพ์ที่เมื่อทราบว่าหนังสือทั้งสองเล่มมีข้อผิดพลาดมาก ก็ได้ระงับการพิมพ์เพิ่มไว้ก่อนจนกว่าจะมีการแก้ไข ผมมองว่าแก่นของปัญหานี้คือ การขาดการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการก่อนที่จะทำการพิมพ์หนังสือออกมา หนังสือทั้งสองเล่มนี้มีการอ้างอิงถึงหลักการ ทฤษฎี และข้อสรุปทางวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะฟิสิกส์อย่างมาก
ในกรณีที่มีการอ้างถึงความรู้ทางวิทยาศาสตร์เช่นนี้ น่าจะต้องมีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางมาช่วยตรวจสอบข้อเท็จจริงร่วมด้วย มิฉะนั้นก็จะมีความเสี่ยงที่หนังสือจะให้ข้อมูลที่ผิดพลาดได้
ที่ว่ามีความเสี่ยงก็คือหากผู้เขียนมีความรู้ที่ถูกต้องและนำเสนอได้อย่างแม่นยำ หนังสือก็จะไม่มีปัญหาอะไร แต่หากผู้เขียนมีความรู้ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน และกองบรรณาธิการไม่สามารถตรวจสอบข้อมูลและความรู้นั้นได้ ก็จะทำให้หนังสือมีที่ผิด หากคลาดเคลื่อนมากก็จะมีที่ผิดมากตามไปด้วย
>บางคนอาจมองว่าหนังสือสองเล่มนี้เขียนเพื่อให้ความบันเทิงมากกว่าให้ความรู้ คือแม้จะผิดพลาดมากก็คงไม่เป็นไร?
ลองมาดูทีละเล่ม ฟิสิกส์นิวตัน ระบุที่หน้าปกว่า "เสริมหลักสูตรวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย" และ "เหมาะสำหรับนักเรียน นักศึกษา และบุคคลทั่วไป" ดังนั้น เล่มนี้จึงต้องการให้ความรู้ทางฟิสิกส์ที่ถูกต้องแก่กลุ่มเป้าหมาย โดยมีจุดพิเศษคือเป็น "ปรากฏการณ์ใหม่ของการเรียนฟิสิกส์จากจินตนาการและความเข้าใจ"
ส่วนเล่ม ไอน์สไตน์พบ พระพุทธเจ้าเห็น นั้นต้องการแสดงให้เห็นว่า "ธรรมะพิสูจน์ได้ด้วยวิทยาศาสตร์" และ "บางสิ่งที่ไอน์สไตน์ค้นพบ พระพุทธเจ้าได้ตรัสรู้มาก่อนแล้วนับพันปี" จุดสำคัญก็คือหนังสือเล่มนี้ไม่ได้เขียนในลักษณะของนิยายหรือเรื่องสั้น แต่มีลักษณะให้ข้อมูลทั้งวิทยาศาสตร์และศาสนาพร้อมการวิเคราะห์ ตลอดจนการแทรกข้อคิดเห็นของผู้เขียนลงไปจำนวนมาก นอกจากนี้ผู้จัดพิมพ์ยังเป็นสำนักพิมพ์ที่มีผลงานน่าเชื่อถือสูงมาก อันเกิดจากการให้ความสำคัญกับคุณภาพของหนังสือและสิ่งพิมพ์ต่างๆ เสมอมา
อย่างไรก็ดี สำนักพิมพ์จัดหนังสือเล่มนี้อยู่ใน ชุดธรรมะวิทยาศาสตร์ ซึ่งหมายความว่าแม้จะมีผู้อ่านส่วนหนึ่งอ่านเพื่อความบันเทิง แต่ก็ย่อมจะมีผู้อ่านอีกจำนวนไม่น้อยที่ต้องการทราบข้อเท็จจริงทั้งทางวิทยาศาสตร์และธรรมะ และต้องการจะเข้าใจว่าวิทยาศาสตร์และธรรมะมีความสัมพันธ์กันอย่างเป็นเหตุเป็นผลอย่างไร
พูดถึงตรงนี้ก็นึกขึ้นมาได้ว่า ไม่เพียงแต่วิทยาศาสตร์เท่านั้นที่ต้องได้รับการตรวจสอบความถูกต้อง แม้แต่ประเด็นทางธรรมะต่างๆ ที่ผู้เขียนกล่าวอ้าง ก็น่าจะมีผู้รู้ทางปรัชญาและพุทธศาสนามาตรวจสอบด้วยเช่นกัน หากสำนักพิมพ์ต้องการให้หนังสือที่จัดพิมพ์ขึ้นทุกเล่มในชุดธรรมะวิทยาศาสตร์นี้มีคุณภาพสูงและเชื่อถือได้ ซึ่งจะส่งผลดีต่อทั้งผู้เขียน ผู้อ่าน และสำนักพิมพ์นั้นๆ เอง
มองในระยะยาวออกไป ย่อมเป็นไปได้ว่าอาจจะมีการอ้างถึงหนังสือเล่มหนึ่งๆ ออกไป เพื่ออ้างอิงหรือเพื่อต่อยอดทางความคิด หากหนังสือที่ถูกอ้างถึงผิดพลาดมากเสียแล้ว ผลลัพธ์ในภายภาคหน้าจะเป็นอย่างไรก็สุดจะหยั่งถึงครับ
>กรณีของหนังสือ "ฟิสิกส์นิวตัน" มีความผิดพลาดหรือคลาดเคลื่อนอย่างไร?
หนังสือเล่มนี้นำเสนอประเด็นพื้นฐานทางฟิสิกส์หลายอย่างไม่ถูกต้อง เช่น การให้ความหมายของแรงปฏิกิริยา (reaction) ผิดพลาด ในหน้า 70 และ ความสับสนระหว่างการหมุน (rotation) กับการเคลื่อนที่เป็นวงกลม (circular motion) ในบทที่ 5 และประเด็นอื่นๆ อีกจำนวนหนึ่งดังที่มีผู้ชี้ให้เห็นในเว็บ Pantip.com ห้องหว้ากอแล้ว
นอกจากนี้ยังมีการใช้คำที่แสดงถึงความไม่เข้าใจในความหมายที่แท้จริงในทางวิชาการอีกจำนวนหนึ่ง ผมยกตัวอย่างง่ายๆ เช่น "Young's modulus เป็นการวัดขนาดความแข็งของวัตถุ" ซึ่งที่ถูกต้องได้แก่ "ค่ามอดุลัสของยัง (Young's modulus) เป็นสมบัติทางกลแบบหนึ่งของวัสดุที่คำนวณได้จากความชันของเส้นกราฟระหว่างความเค้นกับความเครียดในช่วงยืดหยุ่น" ส่วนความแข็งของวัสดุเรียกว่า hardness เป็นสมบัติทางกลที่มีวิธีการวัดค่าได้หลายแบบ แต่หลักๆ ก็คือเป็นสมบัติของพื้นผิวที่ต้านทานต่อแรงกด หรือแรงที่มาขูดขีดผิวในพื้นที่แคบๆ
จะเห็นว่าเพียงแค่ประโยคสั้นๆ ซึ่งดูเผินๆ เหมือนไม่มีอะไรน่าสงสัยนี้ หากผู้รู้มาพบเข้าและแก้ไขให้ ก็จะถูกขยายความออกมามากทีเดียว
>การแก้ไขหนังสือ "ฟิสิกส์นิวตัน" สามารถทำได้อย่างไร?
สามารถทำได้และสมควรทำอย่างยิ่ง เพราะนี่คือหนังสือที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้นักเรียนระดับมัธยมปลายสนใจและเข้าใจวิชาฟิสิกส์อย่างถูกต้อง การแก้ไขคงต้องทำในหลายส่วน ในส่วนผู้เขียนจำเป็นต้องทบทวนความรู้ หรือเรียนรู้จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ ไม่ว่าหนังสือหรือบุคคล โดยทั้งนี้ต้องระมัดระวังการตีความและการคาดเดาที่เกินเลยจากบริบทการใช้งานของทฤษฎีและความรู้ชุดหนึ่งๆ
ในส่วนของบรรณาธิการจำเป็นต้องมีนักฟิสิกส์ที่มีความรู้อย่างน้อยระดับปริญญาโทเข้ามาตรวจสอบ เพราะในฉบับการพิมพ์ครั้งแรกๆ นั้นมีการอ้างถึงความรู้ทางวิทยาศาสตร์กายภาพอื่นๆ เช่น เอนโทรปี (entropy) ทฤษฎีเคออส (chaos theory) และจักรวาลวิทยา (cosmology) นักฟิสิกส์ที่จะทำหน้าที่นี้หากมีใจรักทางด้านการศึกษาด้วยก็จะดียิ่ง เพราะนี่คือหนังสือสำหรับเด็กนักเรียนที่ต้องถูกต้อง อ่านสนุกเพลิดเพลิน ตรงตามความประสงค์ของผู้จัดทำ
ในส่วนของหนังสือที่ขายไปแล้ว คงต้องแล้วแต่ว่าสำนักพิมพ์จะดำเนินการบรรเทาความเข้าใจผิดทางวิชาการที่แพร่กระจายออกไปแล้วอย่างไร เช่น มีผู้เสนอไว้ในเว็บว่าอาจมีการจัดทำไฟล์ที่แก้ไขอย่างดีแล้วขึ้นเว็บ แล้วจัดแถลงข่าวให้ผู้ที่ซื้อหนังสือไปมาดาวน์โหลดไฟล์ดังกล่าว เป็นต้น
>แล้วหนังสือ "ไอน์สไตน์พบ พระพุทธเจ้าเห็น" มีความผิดพลาดหรือคลาดเคลื่อนตรงไหนบ้าง?
เรียนตามตรงว่ากรณีของหนังสือเล่มนี้นั้นซับซ้อนกว่ากรณีหนังสือ "ฟิสิกส์นิวตัน" มากทีเดียว เพราะหนังสือ "ฟิสิกส์นิวตัน" เป็นหนังสือแค่ระดับมัธยมปลาย ถ้าตอนผมเรียนก็แค่ชั้น ม.4 แต่ยังมีที่ผิดในระดับแนวคิดพื้นฐานอย่างเรื่องแรงปฏิกิริยาเลย
แต่หนังสือ ไอน์สไตน์พบ พระพุทธเจ้าเห็น อ้างถึงวิทยาศาสตร์ที่สูงกว่า คืออย่างต่ำๆ ก็ปริญญาตรีสาขาฟิสิกส์ โดยมีเรื่องเฉพาะทางบางเรื่องที่ต้องไปเจาะลึกต่อ แล้วแต่ความสนใจของผู้ที่เรียนฟิสิกส์แต่ละคน เช่น จักรวาลวิทยา (cosmology) ในหน้า 31 ทฤษฎีสตริง (string theory) ในหน้า 39 ทฤษฎีเคออส (chaos theory) ในหน้า 128 และทฤษฎีสัมพัทธภาพ (relativity) ซึ่งปรากฏอยู่ทั่วไปในเล่มเมื่อกล่าวถึงแสงและเวลา เป็นต้น
เนื่องจากความผิดพลาดหรือคลาดเคลื่อนมีมาก ผมจะขอแบ่งเป็น 2 ลักษณะหลักๆ ได้แก่ หนึ่ง-ความผิดพลาดในแง่ของข้อเท็จจริงที่ตรงไปตรงมา และสอง-ความผิดพลาดหรือคลาดเคลื่อนในประเด็นที่ซับซ้อน
แบบแรกแก้ไขได้ไม่ลำบากนัก แต่แบบหลังอาจจะต้องเขียนบทความขนาดยาวเพื่ออธิบายกันเลยทีเดียว นอกจากความผิดพลาดที่เห็นได้อย่างชัดเจน 2 อย่างนี้แล้วยังมีอีกแง่มุมที่น่าสนใจ คือ การนำเสนอแทบจะไม่ได้แยกแยะระหว่าง ข้อเท็จจริง (fact) การตีความ (interpretation) และการคาดเดา (speculation) เลย ซึ่งจะทำให้ผู้อ่านที่ไม่มีพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ดีเพียงพอสามารถจัดระดับความน่าเชื่อถือของข้อความได้
>ช่วยยกตัวอย่างความผิดพลาดด้วยครับ?
เรื่องนี้ผมเขียนไว้ในเว็บบางส่วนแล้ว พอเป็นตัวอย่างนิดหน่อย (http://gotoknow.org/blog/science/192799 และ http://www.vcharkarn.com/varticle/37687) แต่จะขอเพิ่มเติมบ้างกรณีตัวอย่างความผิดพลาดลักษณะแรก (แก้ไขง่าย) เช่น "...วิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของเขา (หมายถึง เดอบรอย) ที่ยืนยันว่าอิเล็กตรอนเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า..." (ที่ถูกต้องคือ "....ที่ถือเสมือนว่า อิเล็กตรอนสามารถประพฤติตัวเป็นคลื่นได้" (หน้า 16) และ "คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทั้งหมดต้องถือเป็นอนุภาค และอนุภาคทุกชนิดต้องถือว่าเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า" (ที่ถูกต้องคือ "คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าอาจประพฤติตัวเป็นคลื่นหรืออนุภาคได้ แล้วแต่สภาวะเงื่อนไขที่เราทำการสังเกต" (หน้า 17)
หรือมีตัวอย่างประโยคที่ซ้อนความคิดหลายชั้น มีถูกมีผิดปนกัน ทำให้ต้องค่อยๆ แยกแยะอย่างระมัดระวัง เช่น "แสงจะเดินทางช้าลงได้ที่อุณหภูมิใกล้ศูนย์องศาสัมบูรณ์ (-273 องศาเซลเซียส) ซึ่งยังไม่มีห้องทดลองที่ไหนทำได้ และถึงทำได้มนุษย์ก็จะเสียชีวิตในเวลาไม่นานเมื่อเข้าไปอยู่ในที่อุณหภูมิต่ำขนาดนั้น" (หน้า 65)
ข้อความ "แสงจะเดินทางช้าลงได้ที่อุณหภูมิใกล้ศูนย์องศาสัมบูรณ์ (-273 องศาเซลเซียส)" - ข้อความนี้ไม่ถูกต้อง
ข้อความ "...ซึ่งยังไม่มีห้องทดลองที่ไหนทำได้ และถึงทำได้มนุษย์ก็จะเสียชีวิตในเวลาไม่นานเมื่อเข้าไปอยู่ในที่อุณหภูมิต่ำขนาดนั้น" - ข้อความนี้ถูกต้องเฉพาะท่อนแรก คือยังไม่มีใครสร้างอุณหภูมิศูนย์เคลวินได้ เพราะกฎข้อที่สามของเทอร์โมไดนามิกส์ห้ามเอาไว้ แต่มีการทดลองบางอย่างที่สามารถลดอุณหภูมิลงจนต่ำมากๆ ได้ และที่สำคัญคือ การลดอุณหภูมินั้นไม่จำเป็นต้องทำกับห้องที่คนอาศัยอยู่ แต่สามารถทำภายในแชมเบอร์ที่ควบคุมอุณหภูมิ ข้อสรุปที่ว่า "ถึงทำได้มนุษย์ก็จะเสียชีวิตในเวลาไม่นาน..." จึงแสดงถึงความไม่เข้าใจเงื่อนไขในการทดลอง
คุณจะเห็นว่าแค่เพียงประโยค 2 บรรทัดในตัวอย่างหลังสุดนี้ ยังมีแง่มุมละเอียดอ่อนที่ซ่อนอยู่ ซึ่งหากจะแก้ไขต้องใช้เวลาพอสมควรทีเดียว และประโยคในลักษณะนี้เองที่ปรากฏอยู่ทั่วไปในหนังสือเล่มนี้ ทำให้หนังสือเล่มนี้ซึ่งอ่านง่าย แต่จะแก้ไขให้ถูกต้องนั้นจำเป็นต้องใช้เวลา ความรู้ และความอดทนอย่างมาก
ส่วนตัวอย่างของกรณีที่ซับซ้อนขึ้น ซึ่งต้องใช้เวลาและความพยายามในการปรับแก้นั้น มักจะปรากฏขึ้นเมื่อกล่าวถึงแนวคิด หลักการ หรือทฤษฎีที่ซับซ้อน ตัวอย่างเช่น เมื่อกล่าวถึงทฤษฎีเคออส (Chaos Theory) ในข้อความที่ว่า "ทฤษฎีแห่งความยุ่งเหยิง (Chaos T heory) ถือว่าเป็นทฤษฎีแห่งคริสต์ศตวรรษที่ 21 ซึ่งสามารถเข้ามาแทนที่ทฤษฎีสัมพัทธภาพ ความมหัศจรรย์ของทฤษฎีนี้ก็คือ สามารถนำไปใช้อธิบายระบบได้ทุกระบบ" (หน้า 77)
(ข้อความนี้ไม่ถูกต้อง เพราะทฤษฎีเคออสศึกษาระบบที่ไม่เป็นเชิงเส้นซึ่งมีพฤติกรรมไวต่อเงื่อนไขตั้งต้น ส่วนทฤษฎีสัมพัทธภาพมี 2 ส่วน ส่วนแรกคือทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษซึ่งศึกษาการสังเกตปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ในกรอบอ้างอิงเฉื่อย และทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปซึ่งศึกษาปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ในกรอบอ้างอิงที่มีความเร่งหรือมีความโน้มถ่วง) การที่จะอ้างถึงเรื่องเหล่านี้อย่างถูกต้องจำเป็นต้องเข้าใจพื้นฐานของทฤษฎีที่กล่าวถึงอย่างถ่องแท้
>แล้วทางแก้ไขสำหรับหนังสือ "ไอน์สไตน์พบ พระพุทธเจ้าเห็น" ควรเป็นอย่างไร?
คงต้องมองจากหลายๆ ฝ่ายทั้งทางฟากอาจารย์และนักวิชาการที่เกี่ยวข้อง ผมกำลังประสานงานกับ ดร.อรรถกฤติ ฉัตรภูติ แห่งภาควิชาฟิสิกส์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อจัดสัมมนาในประเด็นที่ว่า เหตุใดฟิสิกส์ซึ่งเป็นวิทยาศาสตร์ที่มีความแม่นยำจึงถูกเข้าใจอย่างคลาดเคลื่อนได้มากถึงเพียงนี้ และทางนักวิชาการจะมีแนวทางในการแก้ไขอย่างไร เป็นต้น
ล่าสุดอาจารย์แจ้งว่าเสียงตอบรับค่อนข้างดี และหัวหน้าภาควิชาฯ รับทราบเรื่องโดยเบื้องต้นแล้ว ส่วนทางผู้เขียนและสำนักพิมพ์นั้น ก็คงจะต้องหานักวิชาการที่มีความรู้ความสามารถและมีเวลาเพียงพอที่จะลงในระดับรายละเอียด คำว่านักวิชาการนี้ผมคิดว่าถ้ามีได้ทั้งทางวิทยาศาสตร์กายภาพ โดยเฉพาะผู้ที่รู้ฟิสิกส์ยุคใหม่อย่างดี รวมทั้งผู้รู้ทางศาสนา อาจจะเป็นพระหรืออาจารย์ทางปรัชญามาทำงานร่วมกันก็น่าจะเกิดประโยชน์เป็นอย่างมาก
>ข้อดีของหนังสือสองเล่มนี้มีบ้างไหม?
มีแน่นอนครับ กรณีที่หนังสือ ฟิสิกส์นิวตัน ได้รับการแก้ไขฟิสิกส์อย่างถูกต้องทั้งหมด (อาจจะรวมถึงธรรมะด้วย) ก็สามารถใช้ในการเรียนรู้ได้ เพราะผู้เขียนมีสไตล์การนำเสนอที่น่าสนใจ ส่วนเล่ม ไอน์สไตน์พบ พระพุทธเจ้าเห็น นั้น หากเป็นเล่มที่ยังไม่ได้แก้ ซึ่งแพร่หลายไปพอสมควรแล้ว ก็คงต้องอ่านด้วยการวางใจกลางๆ คือ ไม่ด่วนเชื่อ หรือไม่เชื่อในทันที อย่างที่ชาวพุทธยึดถือหลักกาลามสูตรของพระพุทธองค์นั่นแหละ
จากนั้นถ้าสนใจจริงๆ ก็นำประเด็นที่ผู้เขียนกล่าวอ้างเอาไว้ไปสืบค้นจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ สอบถามจากผู้รู้และคิดพิจารณาด้วยตนเองโดยแยบคาย แต่ในยุคสมัยของความเร่งรีบเช่นนี้ อาจจะไม่ใช่ทุกคนที่สามารถทำเช่นนั้นได้ นี่แหละที่ทำให้นักวิชาการหรือคนที่ต้องการความถูกต้องเรียกร้องให้มีการแก้ไข เพราะถ้าทำถูกตั้งแต่ต้นแล้ว ก็จะเหนื่อยและเสียเวลาน้อยลง จะได้นำเวลาไปสร้างสรรค์สิ่งที่เป็นประโยชน์อื่นๆ ต่อไปได้
>มองว่าบทเรียนสำหรับกรณีนี้คืออะไร?
สรุปแบบกรณีทั่วไปเลย ไม่เฉพาะแต่กรณีนี้เท่านั้น สำหรับนักวิชาการนั้นเราจำเป็นต้องทำหน้าที่โดยให้ความรู้แก่สังคมหรือลุกขึ้นมาตั้งข้อสังเกตหรือทักท้วงสิ่งที่ไม่ถูกต้องและเสนอแนวทางแก้ไข ผู้อ่านที่สนใจก็ต้องเรียนรู้ที่จะแยกแยะความจริงออกจากการคาดเดา และสำหรับนักเขียนก็คงต้องศึกษาพื้นฐานของเรื่องที่ตนเองจะเขียนถึงให้ดี โดยหากเป็นเรื่องที่ศึกษาด้วยตนเอง ก็น่าจะมีที่ปรึกษาที่เชื่อถือได้
ส่วนสำนักพิมพ์ก็คงต้องมีกระบวนการตรวจสอบและสร้างระบบบรรณาธิการที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะเมื่อคุณกำลังจัดพิมพ์หนังสือที่เกี่ยวข้องกับความรู้เฉพาะด้าน ยิ่งจำเป็นต้องสร้างกลไกตรวจสอบความถูกต้องของต้นฉบับ แน่นอนว่าตัวบรรณาธิการอาจไม่สามารถรู้ได้ทุกเรื่อง แต่ควรสงสัยในเรื่องที่ตัวเองไม่รู้ และนำข้อสงสัยนั้นไปตรวจสอบ ซักถาม ขอความรู้จากแหล่งต่างๆ ซึ่งผมเชื่อว่ามีช่องทางในการตรวจสอบมากมาย
เพราะหนังสือนี่พิมพ์ออกมาแล้ว ยังอยู่อีกนาน อาจจะเกินกว่าชั่วชีวิตคนด้วยก็เป็นได้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)